วันศุกร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2550

Château de Hohenzollern



Le premier château des Hohenzollern a été bâti au cours de la première moitié du XIe siècle, et est mentionné pour la première fois en 1267 exactement. On ignore l'aspect et les dimensions exacts du premier édifice, mais cependant, les fondations mises à jour en 1836 permettent de conclure que le premier château, aussi bien par son importance que par son architecture, constitua à l'époque un ensemble fortifié capable de répondre à toutes les exigences des premiers comtes de Zollern. Le château devint rapidement une sorte d'effigie des Hohenzollern, considéré alors comme « la couronne des châteaux souabes ».

À l'issue d'une querelle entre deux comtes des Hohenzollern, le château fut conquis et complètement rasé (sauf trois bas-reliefs de la chapelle). L'empereur Sigismond interdit alors toute reconstruction ultérieure. Quelques temps après, Frédéric III leva l'interdiction de son prédécesseur, ce qui permit au comte Jos Niklas de Zollern de poser la première pierre du second château. Les Zollern du Brandenbourg et de Franconie, les ducs autrichiens et la noblesse souabe considéraient le château comme un symbole de puissance et encouragèrent sa reconstruction.

Plus beau et mieux fortifié, le deuxième château est composé d'un bâtiment principal, doté sur les côtes extérieurs de quatre tours de protection en demi-cercle. Au nord s'élève la tour de l'Empereur, au sud « la tour du Margrave ». Les travaux de construction furent menés à bien et le château est doté de pièces d'artillerie et de munitions. Lors de la guerre de Trente Ans, il était pourvu entre 1618 et 1623 de fortifications encore plus importantes. Il en acquit la réputation d'imprenable.

Durant la seconde moitié du XVIIIe siècle, le château est abandonné jusqu'en 1819. En juillet 1819, le roi Frédéric-Guillaume IV de Prusse, alors prince héritier, décide d'entreprendre sur-le-champ sa reconstruction. Le château subit plusieurs modifications pour lui donner un aspect plus pittoresque et romantique. Il confie la direction des travaux à Friedrich Schinkel

ข้าวแบบไหน ถูกใจคนฝรั่งเศส





"วันนี้เพื่อนnookอยากกินข้าวจังเลย" คิดในใจ หลังจากที่กินแต่ขนมปังกับมันบด มันฝรั่งทอดหรือ อะไรแนวๆนี้ตลอด เพราะ คนฝรั่งเศสกินกันเป็นอาหารหลักเหมือนข้าวบ้านเรา แต่เค้าก็กินข้าวเหมือนกันนะ แต่เป็นบางมื้อ แต่ที่น่าสนใจ ก็คือข้าวแบบที่เค้าชอบกินกันมันไม่เหมือนกับข้าวบ้านเรา เพื่อนnookจะเล่าให้ฟังนะ

คำว่า ข้าว นั้น ตรงกับภาษาฝรั่งเศสว่า "Riz" ออกเสียง ครี อาจจะไม่ตรงซะทีเดียวนัก เพราะจะออกเสียง ยากนิดหน่อยนะ สำหรับคำศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วย ตัว R ในภาษาฝรั่งเศส

ที่ฝรั่งเศสนั้น ข้าวจัดอยู่ในหมวดหมู่ อาหารประเภทเค็ม (Alimentation - Epicerie salée) ไม่ทราบจะแปลยังไงดี ใครจะพอให้คำนิยามได้ ช่วยแนะนำด้วย สำหรับข้าวนั้นอยู่หมวดเดียวกับ เส้นสปาเกตตี้ (เรียก Pâtes อ่านว่า ปั๊ต ในภาษาฝรั่งเศส) ซอส เกลือ น้ำมัน น้ำส้มสายชู แตงดอง ฯลฯ เพื่อนๆอาจสงสัยว่า Alimentation หรือ อาหารเนี่ย นอกจากจะมี Epicerie salée แล้วจะมีอะไรอีกบ้าง ขอพาออกนอกเรื่องนิดเดียว เดี๋ยวจะเลี้ยวกลับมาส่ง ทางเดิมนะ :)

มาดูกันคร่าวๆดีกว่า ว่า Alimentation - Epicerie มีกี่ประเภท (ดูอย่างเดียวก่อนนะ ยังไม่้ได้รับประทาน พูดถึงอาหาร เยอะๆเนี่ยะ ชวนให้น้ำลายสอเนอะ ท่านๆเห็นด้วยหรือเปล่า ฮ่าๆ)

Epicerie salée ยกตัวอย่างไปแล้วข้างบน ใครจำไม่ได้ละ โปรดเริ่มอ่านใหม่ตั้งแต่ต้น ฮ่าๆ ล้อเล่นนะ Epicerie sucré เช่น แยม น้ำผึ้ง นมข้นหวาน กาแฟ ชอกโกแลต ขนมกินเล่น น้ำตาลทราย ซีเรียล ฯลฯ

พูดง่ายๆ ก็คือ แบ่งเป็น ของคาว (Epicerie salée) และ ของหวาน (Epicerie sucré) นั่นเอง นะ บางครั้งก็จะ แบ่งละเอียดไปเป็น 3 ประเภท มีเพิ่ม Epicerie Fine ด้วย ซึ่งเพื่อนnokก็ไม่พูดละเอียดไปถึงขนาดนั้นนะ อิอิ จริงๆแล้ว ไม่ค่อยแน่ใจ Epicerie Fine เหมือนกัน เพราะคล้ายๆกับแบบที่สองน่ะ
ดังที่เคยเกริ่นไว้แล้วนะว่า ข้าวแบบที่คนไทยชอบ และแบบที่คนฝรั่งเศสชอบนั้นแตกต่างกัน และที่สำคัญ เค้าไม่ได้ใช้หม้อหุงข้าวแบบบ้านเรา เพราะไม่มีขายซะด้วยสิ

มาแล้วจ้ะๆ...

การหุงข้าวแบบไทยๆ เราจะหุงด้วยอุปกรณ์เฉพาะ ก็คือ หม้อหุงข้าว โดยไม่มีการปรุงรสใดๆลงไป เพียงใช้แค่ น้ำเปล่า และเมื่อข้าวสุกแล้ว ปล่อยให้ความร้อนคงอยู่ในหม้อข้าวซักพักค่ะ เพื่อให้ข้าวระอุสุกดี เมื่อเปิดฝาหม้อออก จะเห็นว่า เม็ดข้าวเรียงตัวสวยและติดกันดี ไม่แห้ง ไม่ร่วนเกินไปค่ะ

การหุงข้าวแบบฝรั่งเศส จะหุงด้วยหม้อธรรมดา ต้มน้ำ (ที่ใ่ส่เกลือลงไปนิดหน่อย) ให้เดือด จากนั้นใส่ข้าวสาร ลงไปค่ะ รอประมาณ 12-15 นาที ใหข้าวสุก ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ข้าวจะเม็ดร่วน ไม่ติดกัน และค่อนข้างแห้ง ขั้นนี้อาจปรุงโดยการ โรยพริกไทย และใส่เนย ลงไปเคล้าๆนิดหน่อยค่ะ

จะสังเกตว่า เค้าจะไม่ใช้แค่น้ำเปล่าในการหุงข้าว แต่มีเครื่องปรุงสำคัญ คือ เกลือ (เพียงเล็กน้อย) วิธีการหุงข้าวสูตรนี้ เรียกว่า แบบ Créole รสชาติก็จะเค็มๆ (ด้วยเกลือ) มันๆ (ด้วยเนย) หอมๆ (ด้วยพริกไทย) แต่โดยรวมแล้วจืดๆ (เอ๊ะ! ยังไง) แล้วก็แปลกๆสำหรับคนไทยอย่างพวกเราอยู่ดีเพราะเหมือนรับประทานข้าวดิบๆ และที่อะเมซซิ่งมหัศจรรย์ ยิ่งไปกว่านั้น คือ เค้าจะใช้ส้อมตักข้าว ค่ะ ตักไป ก็ร่วง กราวเลยล่ะค่ะ
ไม่ว่าจะเป็นข้าวไทย หรือข้าวจากประเทศอื่นๆ จะออกมาร่วนๆเหมือนกันหมดล่ะสำหรับวิธีหุงข้าวแบบนี้ แต่จะต่างกัน ก็คงจะตรง ขนาดเมล็ดข้าว กลิ่นหอม แต่คนฝรั่งเศส เค้าก็ชอบกันนะคะแบบเม็ดร่วนๆน่ะ ฉันว่าอาจจะเป็นเพราะ ความเคยชิน ด้วยค่ะ

Compote aux pommes


Compote aux pommes
“... แอปเปิ้ลเก่ายังมีประโยชน์อยู่นะ...”

สวัสดีครับเพื่อนๆ พบกันอีกครั้ง คราวนี้ประเดิมของหวานจานแรกด้วย compote aux pommes หรือ apple stew compote เป็นการนำผลไม้ที่ช้ำหรือใกล้จะเสียมาแปรรูปเป็นของหวาน และเป็นการถนอมอาหารอีกรูปแบบหนึ่ง




ส่วนประกอบ (สำหรับ ๒ ที่)
- แอปเปิ้ล ๒ ลูก
- น้ำเปล่า ครึ่ง แก้ว

วิธีทำ
๑. ปลอกเปลือกเแอปเปิ้ล เอาใส้ในออก แล้วหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ
๒. ใส่แอปเป้ลที่หันแล้วส่งในหม้อ เทน้ำลงไป ตั้งไฟจนเดือด แล้วลดไฟลง ทิ้งไว้เจ็ดนาที เสร็จแล้วยกลง พักไว้ให้เย็น
๓. นำส่วนผสมแอปเป้ลไปปั่น (ถ้าไม่มีเครื่องปั่นให้ใช้ส้อมยี) แล้วนำเข้าตู้เย็นครึ่งชั่วโมง

สามรถใช้ผลไม้อย่างอื่นแทนแอปเปิ้ลหรือผสมกันก็ได้ เช่น ลูกแพร์ ลูกท้อ


Bon appétit

GITE DE FRANCE




GITE DE FRANCE :
Le gîte rural et la chambre d’hôte
เดือนกุมภาพันธ์ที่เพื่อนๆหลายคนเฝ้ารอก็มาถึงแล้วนะคะ หลายคนคงได้หยุดพักกันไปบ้างแล้ว บางคนก็ยังมีวันหยุดเหลือกันอยู่ใช่ไหมคะ พูดถึงวันหยุด หลายต่อหลายคนคงจะมีโอกาสได้ไปท่องเที่ยวในสถานที่ต่างๆ ไม่ว่าจะไปเล่นสกี ซึ่งถือว่าเป็นกิจกรรมหลักของฤดูกาลนี้ก็ว่าได้ นอกเหนือจากการไปเล่นสกีแล้ว การเดินทางไปสำรวจต่างถิ่นต่างแคว้น ก็เป็นอีกกิจกรรมของการท่องเที่ยวที่น่าสนใจเช่นกัน
เมื่อพูดถึงการท่องเที่ยวต่างถิ่นต่างแคว้นแล้ว สิ่งหนึ่งที่สำคัญสำหรับการเดินทางนั้นคือ การหาที่พัก ณ เมืองนั้นๆ วันนี้ Me to you ขอเล่าเรื่องที่พักให้เพื่อนๆได้ฟังนะคะ ช่วงที่เพื่อนๆหาที่พักกันอยู่นั้น เพื่อนๆเคยสังเกตเห็นคำว่า Gîte de France และ Chambre d’hôte กันหรือเปล่าคะ ส่วนตัวเองนั้นสังเกตอยู่บ่อยๆ โดยเฉพาะเมื่อไม่สามารถหาที่พักตามโรงแรมได้ เจ้าหน้าที่ของการท่องเที่ยว ณ เมืองนั้นๆ มักจะเสนอให้ไปพักกันที่นี่ แต่ Me to you ก็ยังไม่เคยมีโอกาสได้ไปพักสักที แต่ด้วยความสงสัยว่ามันเป็นอย่างไร จึงลองไปค้นหาดู แล้วเลยถือโอกาสนำมาเล่าแบ่งปันให้เพื่อนๆได้ฟังกัน เผื่อว่าเพื่อนๆสนใจจะลองไปใช้บริการกันคะ

คำว่า Gîte แปลว่า ที่อยู่ ที่พักอาศัย ในขณะที่ Chambre d’hôte ถ้าแปลตรงตัว ก็น่าจะแปลได้ว่า ห้องของเจ้าของบ้าน

ก่อนอื่นต้องขออธิบายกันคร่าวๆก่อนนะคะ ว่า Gîte de France เปรียบเสมือนกับ ตราหรือสัญลักษณ์ การให้ระดับและรับประกันคุณภาพของที่พักนั้นๆที่เข้าร่วมโครงการ นอกจากนั้น Gîte de France จะให้ระดับของความสะดวกสบายเช่นเดียวกับโรงแรมต่างๆ เพียงต่างกันที่ โรงแรมจะให้ระดับความสะดวกสบายด้วย “จำนวนดาว” ในขณะที่ Gîte de France จะให้ระดับความสบายด้วย “จำนวนรวงข้าว” ซึ่งปัจจุบันนี้ Gîte de France ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของที่พักเพื่อการท่องเที่ยวแบบธรรมชาติในประเทศฝรั่งเศส การที่ Gîte de France จะให้สัญลักษณ์ได้นั้น บ้านหรือที่พักที่ขอเข้าร่วมนั้นจะต้องตอบสนองความต้องการด้านท่องเที่ยวแบบท้องถิ่น สถานที่ตั้งนั้นมีความสงบและอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ อีกทั้งที่พักนั้นร่วมอนุรักษ์สภาพแวดล้อมตามชนบท ซึ่งส่วนตัวสังเกตได้ว่า ที่พักลักษณะนี้มักจะตั้งห่างออกไปจากตัวเมืองเล็กน้อย ถึงปานกลาง

Gîte de France นั้นเสนอภาพของที่พักที่ตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ ในบรรยากาศของท้องถิ่นนั้นๆ ให้นักท่องเที่ยวที่เข้ามาพัก ได้สัมผัสกับบรรยากาศและลักษณะของผู้คนในท้องถิ่นนั้น

Gîte de France แบ่งประเภทของที่พักหลายประเภท แต่ที่เพื่อนๆรวมทั้งตัวเราเองมักพบเห็นบ่อยๆ ขณะเดินทางท่องเที่ยวนั้น ก็คือ Le gîte de rural และ La chambre d’hôte

วันนี้ Me to you จึงขอเล่าถึงที่พักสองประเภทนี้ก่อนนะคะ เริ่มจาก Le gîte de rural
Le gîte de rural นั้นจะตั้งอยู่แถวตามชนบท ทะเล หรือ ภูเขา ลักษณะของ gîte de rural จะเป็นบ้านที่มีห้องเดียวหรือหลายๆห้อง รวมทั้งมีห้องรับประทานอาหาร ห้องครัว และห้องน้ำ ซึ่งเพื่อนๆสามารถที่จะเช่าไม่กี่วัน หรือเป็นสัปดาห์ก็ได้คะ ซึ่งส่วนใหญ่ผู้มาพัก มักจะมากันในช่วงวันหยุดเรียน เมื่อผู้มาพักมาถึง เจ้าของบ้านจะมาต้อนรับด้วยความอบอุ่น ให้ความรู้สึกเป็นกันเองเหมือนว่าผู้มาพักนั้นมาพักที่บ้านของตัวเอง

ระดับคุณภาพของบ้านพักแต่ละที่นั้น Gîte de France จะให้สัญลักษณ์เป็น รวงข้าว ตั้งแต่ 1-5 รวงข้าวเลยคะ ซึ่งขึ้นอยู่กับความสะดวกสบายและสิ่งอำนวยความสะดวก


ที่พักอีกแห่งที่เป็นที่นิยมก็คือ La chambre d’hôte หรือที่พวกเรารู้จักกันดีในชื่อว่า bed and breakfast ที่พักประเภทนี้ จะมีลักษณะคล้ายกับโรงแรมมากกว่าประเภทแรกคะ เพื่อนๆสามารถมาพักแค่หนึ่งถึงสองคืนก็ได้ ที่นี่เจ้าของบ้านจะปรับเปลี่ยนบ้านของตัวเองให้เป็นเหมือนโรงแรมเล็กๆ คะ เพราะในบ้านนั้น มีห้องพักไม่เกิน 6 ห้องคะ ส่วนบรรยากาศมักจะเงียบสงบ เพื่อให้เพื่อนๆได้ชื่นชมกับธรรมชาติโดยรอบ และบางทีเพื่อนๆอาจมีโอกาสได้ทำความรู้จักกับเพื่อนใหม่ที่มาพักที่นี่ก็ได้นะคะ เพราะที่นี่ก็มีลักษณะเหมือนบ้านเลยคะ มีห้องนอน ห้องรับแขก ห้องครัว ห้องรับประทานอาหาร
ราคาที่พักนั้นจะรวมอาหารมื้อเช้าให้เพื่อนๆด้วยนะคะ ข้อดีของการพักที่นี่ก็คือ เพื่อนๆจะมีโอกาสได้ชิมแยมที่เจ้าของบ้านทำเอง รวมทั้ง ขนมปัง และขนมหวานต่างๆ ที่เจ้าของบ้านมักจะเป็นผู้ทำเอง อีกทั้งเนยแข็งหรือผลิตภัณฑ์นมต่างๆก็จะมาจากท้องถิ่นนั้นๆ

จำนวนรวงข้าวที่ Gîte de France ให้นั้นมีตั้งแต่ 1-4 รวงข้าวคะ ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับลักษณะและที่ตั้งของบ้าน รวมทั้งความสะดวกสบาย การตกแต่งของบ้านนั้น และ สิ่งอำนวยความสะดวกที่เจ้าของเสนอให้กับผู้ที่มาพัก

จะว่ากันไปแล้ว ถ้าเพื่อนๆมีโอกาสได้ไปท่องเที่ยวแถบชนบท Me to you ขอแนะนำให้เพื่อนๆลองไปใช้บริการกันดูนะคะ ไม่ว่าจะเป็น le gîte rural หรือ la chambre d’hôte เพราะนอกจากราคาที่พักจะไม่แพงมากแล้ว เพื่อนๆยังมีโอกาสได้เรียนรู้ลักษณะการใช้ชีวิตของผู้คนในท้องถิ่นนั้นๆด้วยคะ ^^

POITIERS (ปัวเตียร์)


ขอต้อนรับสู่เมือง POITIERS (ปัวเตียร์)

เมืองแห่งวัฒนธรรมโรมันกว่า 2000 ปี และการศึกษา ที่มีรากฐานการก่อตั้ง มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี คศ.1431


ลักษณทางกายภาพ

เมือง Poitiers (ปัวเตียร์) เป็นเมืองหลวง ในมณฑล เวียน (Department Vienne) ในแคว้น ปัวตู ชาร์ฮอง (Région PoiTou-Charentes)

เมือง Poitiers (ปัวเตียร์) เป็นเมืองขนาดกลาง มีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 120000 ครัวเรือน

ระยะทางห่างจากปารีส (Paris) 330 กิโลเมตร สามารถเดินทางด้วยรถไฟความเร็วสูงใช้เวลา 1.45 ชั้วโมง

แนะนำเมือง Poitiers (ปัวเตียร์)

หลายคนคงไม่คุ้นกับชื่อเมือง Poitiers (ปัวเตียร์) ซักเท่าไร อาจรู้จักเมืองนี้ในแง่ของเมืองแห่งการศึกษา ด้วยความที่ Univerité de Poitiers มีความเก่าแก่อยุ่ในยุคเดี่ยวกับ มหาวิทยาลัย ซอรืบอน แห่ง ปารีส ก็เป็นเรื่องปกติเพราะเมืองแห่งนี้ไม่มีความโดดเด่นทางด้านอุตสาหกรรม หรือการท่องเที่ยว

แต่เมือง Poitiers จะมีชื่อเสียงในแง่ของการผลิดนักการเมืองและการปกครองเสียมากกว่า รวมถึงเป็นเมืองแห่งการศึกษานวัตกรรมยุคใหม่ ที่มีชื่อเสียง อย่าง Futuroscope www.futuroscope.com และมีมหาวิทยาลัย ที่มีความพร้อมในเรื่องของการเรียนและการศึกษา รวมถึงการรองรับในเรื่องที่พักอาศัยของนักศึกษา ในราคาไม่สูงมากนัก


ถ้าพูดถึงเมือง Poitiers ในแง่ของการศึกษา

เราจะพบว่าค่าใช้จ่ายในเรื่องการศึกษาที่ประเทศฝรั่งเศส ไม่ได้แพงอย่างที่คิด

เมือง Poitiers เป็นเมืองที่มีมหาวิทยาลัย ชื่อ Université de Poitiers ซึ่งประกอบด้วย 3 วิทยาเขต 12 คณะ 6 หอพักนักศึกษา

คุณสามารถ ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.univ-poitiers.fr/

คนไทยในการเรียน ภาษาฝรั่งเศส

ที่เมือง Poitiers มีสถาบันการเรียนภาษาฝั่งเศสที่เป็นส่วนหนึ่งของคณะอักษรศาสตร์ ใน Univerité de Poitiers ซี่งมาตราฐานการศึกษา และระดับของใบประกาศนียบัตร ได้การรับรองโดยมหาวิทยาลัยและ รัฐบาลฝรั่งเศส

ค่าใช้จ่าย ค่าเรียน 750 ยูโร / เทอม*

ถ้าลงทะเบียน 1 ปี ค่าใช้จ่ายประมาณ 1080ยูโร* ( 2 เทอมการศึกษา ) (*ข้อมูลปี 2006)

สามารถดูข้อมูลเพิ่มเิตมได้ที่ http://cfle.univ-poitiers.fr/

สำหรับคนไทยที่ต้องการเรียนภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น

เพื่อเตรียนพร้อมก่อนเข้าเรียนในระบบมหาวิทยาลัย หรือ บางคนที่ต้องการมาเรียนภาษาเพื่อจะเอาใบ ประกาศนียบัตรทางด้านภาษาฝรั่งเศส เพื่อกลับไปทำงานที่เมืองไทย

ที่เมือง Poitiers มีศูยน์ภาษาฝรั่งเศสสำหรับนักเรียนต่างชาติ (Centre Français langue Etrangère Université de Poitiers) ซึ่งศูยน์ภาษาฝรั่งเศสแห่งนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ คณะอักษรศาสตร์ ใน Université de Poitiers

ส่วนการศึกษาที่ศูยน์ภาษาฝรั่งเศสแห่งนี้จะแบ่งเป็น 7 ระดับ ซึ่ง ระดับที่ 1 (niveau 1) จะเป็นการเริ่มต้นสำหรับบุคคลที่ไม่เคยเรียนภาษาฝรั่งเศสมาก่อน จนไปถึงในระดับ 6-7 (niveau 6-7) ซึ่งจะเป็นการเรียนในระดับสูงที่ผู้เรียนจะต้องเลือกเรียนในเรื่องของ วัฒนธรรม , การปกครอง , ศิลปะ , วรรณคดี , เศรษฐกิจ ,สังคม ฯลฯ ของประเทศฝรั่งเศส

ที่ศูยน์ภาษาฝรั่งเศสแห่งนี้สามารถตอบสนองความต้อการในทุกรูปแบบของการศึกษาสำหรับ นักเรียนต่างชาติ รวมถึงการออกใบรับรองเพื่อการขอ Carte de Séjours

สิ่งที่ต้องพึงระวัง ที่ศูยน์ภาษาฝรั่งเศสสำหรับนักเรียนต่างชาติ

มีการจำกัดจำนวนนักเรียนไม่เกิน 25 คน / ห้องเรียน ด้วยเหตุผลทางคุณภาพทางการศึกษา ดังนั้นถ้าสนใจก็แสดงเจตจำนงในการสมัครเรียนแต่เนิ่นๆจะดีกว่าที่ จะมาสมัครเรียน ก่อนเปิดเทอม 2 อาทิตย์
ขาดเรียนด้วยเหตุผลไม่สมควร ที่ศุนย์ภาษา แห่งนี้จะไม่รับในการลงทะเบียนในเทอมถัดไป
ใน 1 เทอมการศึกษา (ประมาณ 3 เดือน)จะมีการสอบ 2 ครั้ง เพื่อประเมินในการเลื่อนระดับ ถ้าสอบไม่ผ่าน ก็ต้องเสียเวลามานั้งเรียนในระดับเดิมซ้ำ อีก 3 เดือน ดังนั้นถ้าไม่อยากเสียเวลา และค่าใช้จ่าย ก็ต้องขยันและกลับมาทำการบ้าน

วันพฤหัสบดีที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550

ฝัน ฝันหวาน


หนึ่งในที่พักในฝรั่งเศสซึ่งมีให้เลือกมากมาย

อาหารฝรั่งเศสแสนอร่อย ห้องพักสุดสบาย โรงแรมสงบริมทุ่งลาเวนเดอร์หรือชายฝั่งทะเล ที่นี่คือดินแดนที่คุณจะได้ใช้ชีวิตอย่างมีศิลปะ

จากหน้าต่างที่เปิดกว้าง คุณได้ยินเสียงนกร้องจุ๊บจิ๊บ ได้กลิ่นขนมปังหอมกรุ่นโชยมาเตะจมูก อาหารเช้าคอยคุณอยู่กลางสนามหญ้านุ่มใต้ร่มไม้ใบหนา มีขนมปังแบบชนบทและครัวซองต์อบใหม่ๆ แยมผลไม้ทำเองหวานฉ่ำกับเนยแข็งท้องถิ่น

ฝัน ฝันหวาน
สิ่งที่คุณประทับมากที่สุดในฝรั่งเศสอาจเป็นยามเช้าอันสดใสที่บ้านพักสวยสงบในชนบทแห่งนี้ หรืออาจเป็นที่โรงแรมสวยน่ารักริมทะเลข้างๆ นี้ก็ได้

เจ้าของบ้านนำกาแฟมาเสิร์ฟพร้อมถามไถ่ด้วยไมตรีว่า คุณนอนหลับสบายดีหรือไม่
คุณตัดสินใจถูกจริงๆ ที่เลือกพักในห้องแบ่งเช่าซึ่งให้ความสุขแบบที่หาไม่ได้ง่ายๆ
สุขสบายเหมือนได้อยู่ในปราสาท

หากคุณชอบพักโรงแรม ในฝรั่งเศสมีโรงแรมให้เลือกหลายระดับและหลายรูปแบบ ตั้งแต่โรงแรมชั้นหนึ่งสุดหรูที่ตั้งอยู่ใจกลางแหล่งท่องเที่ยว การบริการในโรงแรมเหล่านี้พิถีพิถัน ห้องพักตกแต่งอย่างดีเลิศ พรั่งพร้อมด้วยอุปกรณ์อำนวยความสะดวก มีอาหารที่คัดสรรและบรรจงปรุงมาอย่างดีสมศักดิ์ศรีของฝรั่งเศส

นอกจากนี้ยังมีที่พักแบบอื่นๆ เช่น ที่พักนักเดินทางเล็กๆ ตามชนบท บ้านพักบนภูเขา โรงแรมราคาประหยัดแต่พักได้สบาย กระท่อมนักล่าสัตว์กลางป่า... ไม่ว่าคุณจะชอบแบบไหนหรือมีงบประมาณเท่าใด คุณจะได้ความพึงพอใจแน่นอน

ยินดีต้อนรับ
ไม่ว่าที่พักเหล่านี้จะมีความหรูหราแตกต่างกันอย่างไร แต่ที่เหมือนกันเกือบทุกแห่งคือ การต้อนรับอันอบอุ่นและเป็นกันเองเหมือนเจ้าของบ้านกับผู้มาเยือนมากกว่าที่จะอยู่ในฐานะลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นโรงแรมแสนสบายหรือที่พักซึ่งให้ความเป็นกันเองที่คุณได้ที่อยู่มาจากเพื่อนๆ ทุกที่ทุกแห่งคุณจะรู้สึกเหมือนอยู่บ้าน จึงไม่ใช่เรื่องบังเอิญแน่นอนที่ฝรั่งเศสได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่ผู้คนมีศิลปะในการใช้ชีวิต...
คุณสนใจบ้านพักแบบชนบทกลางวนอุทยาน
คุณอยากเปลี่ยนบรรยากาศไปพักในปราสาทหรือคฤหาสน์
คุณจะพาครอบครัวไปสนุกสนานในแค้มป์พักร้อน
คุณสนใจเช่าบ้านส่วนตัวเพื่อนอนดูทะเลเงียบๆ

ไปตามใจปรารถนา


บนถนนเลียบแม่น้ำแซนที่ผ่านใจกลางกรุงปารีส รัฐบาลฝรั่งเศสห้ามยานยนต์ทุกชนิดแล่นช่วงบ่ายวันอาทิตย์ ในประเทศฝรั่งเศส เส้นทางที่สงวนไว้สำหรับคนเดินเท้า ขี่จักรยานหรือเล่นสเก็ตมีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

ผู้ที่ต้องการทำเวลาหรืออยากเดินทางไปตามสบายไม่เร่งร้อน สามารถเดินทางไปได้ทุกหนทุกแห่งในฝรั่งเศส


การเดินทางระยะไกลจากปารีสไปบอร์โดซ์หรือจากปารีสไปมาร์เซยย์ จะใช้เวลาเพียง 3 ชั่วโมงโดยรถไฟ TGV ส่วนจากลิลล์ไปมงต์เปลิเย่ หากนั่งเครื่องบินก็จะใช้เวลาเพียง 2 ชั่วโมง จะเห็นได้ว่ารถไฟความเร็วสูง (300 กม./ชม.) เป็นวิธีการเดินทางที่รวดเร็วพอๆ กับเครื่องบิน และจะเชื่อมเส้นทางระหว่างเมืองสำคัญใหญ่ๆ ทั่วทุกภาคของฝรั่งเศส และหากต้องการเดินทางต่อไปยังเมืองอื่นๆ โดยรอบก็สามารถต่อรถไฟธรรมดาไปได้ เนื่องจากมีเส้นทางรถไฟไปถึงเกือบทุกเมือง
ส่วนหมู่บ้านเล็กๆ นั้นก็จะไปมาหาสู่กันได้โดยเส้นทางรถยนต์ ซึ่งมีถนนครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ของประเทศ คิดเป็นระยะทางรวมถึงกว่า 1 ล้านกิโลเมตร

การเดินทาง
ทุกพื้นที่ในฝรั่งเศสมีเส้นทางสัญจรไปมาถึงกันได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ไม่ว่าคุณจะเดินชมย่านขายของเก่าที่เมืองรูออง (Rouen) หรือไปเดินเล่นสูดโอโซนที่ชายฝั่งเบรอตาญ (Bretagne) หรือแม้แต่ข้ามภูเขาสูงชันกลางป่า... คุณก็สามารถทำได้ด้วยการนั่งรถไฟเล็กที่มีบริการอยู่

บางครั้งคุณอาจขับรถอย่างสบายๆ เพื่อชมทิวทัศน์ข้างทางบางแห่งซึ่งสวยงาม หรือเพื่อกินลมชมวิว ถนนถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งเช่นกัน

ปารีส นครแห่งแสงสี


ปารีสเป็นเมืองหลวงแห่งแฟชั่น อีกทั้งยังเป็นเมืองที่สวยที่สุดในโลกสำหรับอีกหลายๆ คน




พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ Porte de la Villette

มงต์มาร์ตร (Montmartre), แซ็งต์-แฌร์แม็ง-เดส์-เปรส์ (Saint-Germain-des-Prés) แหล่งรวมร้านกาแฟหรู โรงหนังและแหล่งซื้อของ, เลอ มาเรส์ (Le Marais) ถิ่นแฟชั่นทันสมัย, แบลวิล (Belleville) ย่านไชน่าทาวน์, โอแบร์กองฟ์ (Oberkampf) สถานที่ย่ำราตรีย่านต่างๆ ของปารีส มีกิจกรรมที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์และทำให้เมืองหลวงแห่งนี้มีเสน่ห์อย่างที่เป็นอยู่


การที่แต่ละมุมของปารีสน่าเที่ยวน่าชมเป็นเพราะมีบรรยากาศที่ไม่จำเจ มีการผสมผสานอย่างลงตัว ภาพปารีสที่มีผู้คนเดินเล่น ขี่จักรยานหรือเล่นสเก็ตอย่างเสรีบนถนนเลียบแม่น้ำแซน หรือกลุ่มศิลปินที่นั่งวาดภาพบนสะพานปาสเซอแรล เดส์ ซาร์ (Passerelle des Arts) หรือภาพของอาคารบ้านเรือนแบบคลาสสิคที่มองลงมาจากศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมปอมปิดู (Pompidou) ภาพเหล่านี้แม้จะมาต่อรวมกันทั้งหมดก็ยังไม่พอที่จะอธิบายความเป็นปารีสได้ เพราะปารีสมีเอกลักษณ์ของตัวเอง

คุณจะไปเที่ยวย่านแฟชั่นทันสมัย
คุณชอบเดินชมสินค้าสวยๆ งามๆ
คุณสนใจไปดูสุสานใต้ดิน

ชีวิตคนเมือง


สิ่งที่ทำให้เมืองทุกแห่งในฝรั่งเศสมีชีวิตชีวิตขึ้นมาคือ กิจกรรมของผู้คนในย่านชุมชน ร้านค้าตามท้องถนนและสถานที่พักผ่อนหย่อนใจในแต่ละเมือง


สิ่งแรกที่จะต้องทำเมื่อมาถึงเมืองท่องเที่ยวคือ จะต้องเรียนรู้วิธีการเดินทางในเมืองนั้นซึ่งไม่ใช่เรื่องยาก เพราะทุกเมืองในฝรั่งเศส มีระบบการคมนาคม ไม่ว่าจะเป็นรถราง รถใต้ดินหรือรถเมล์ที่สะดวก ช่วยพาคุณไปไหนต่อไหนได้ง่ายดาย ไม่ต้องกลัวหลง จากนั้นคุณก็เลือกเที่ยวชมเมืองได้อย่างสบายใจ บางคนชอบไปเดินชมสินค้าท่ามกลางฝูงชนตามแหล่งช้อปปิ้ง บางคนเลือกที่จะไปเดินเล่นเงียบๆ ชมบ้านเรือนสวยๆ ตามลำพัง พอเหนื่อยก็มานั่งพักดื่มอะไรเพลินๆ ในร้านกาแฟข้างทาง เสร็จแล้วไปเดินชมสินค้าต่างๆ ที่ตั้งโชว์อยู่ หรือไม่ก็ไปเที่ยวดูสถานที่แปลกตา หากสนใจการแสดง คุณควรหาหนังสือแนะนำนักท่องเที่ยวที่มีวางขายตามแผงหนังสือ ซึ่งรวบรวมรายการแสดงต่างๆ ในแต่ละอาทิตย์เอาไว้ใช้เป็นแหล่งข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นดนตรี ละครหรือโอเปร่า ส่วนตามพิพิธภัณฑ์ สวนสาธารณะหรือลานคนเมือง ก็มักจะมีนิทรรศการต่างๆ ทุกประเภทหมุนเวียนกันให้ชมเสมอๆ นอกจากนี้ยังมีศูนย์วัฒนธรรมหรือสวนสนุกต่างๆ ที่คอยจัดกิจกรรมไว้ให้ความเพลิดเพลินแก่คุณๆ ทุกเพศทุกวัยอีกด้วย



คุณอยากขี่จักรยานชมโรงงานต่อเรือที่เมืองเลอ อาฟร์ (Le Havre) แคว้นนอร์มองดี (Normandie)
คุณจะไปเที่ยวสวนสนุกแห่งโลกอนาคต Futuroscope ที่เมืองปัวตู-ชาร็องต์ (Poitou-Charentes)
คุณสนใจชมสถานีส่งยานอวกาศที่เมืองกูรู (Kourou) ในกีอานา (Guyane)

กลิ่นอายฝรั่งเศส


แนวโน้มใหม่

เปิดฟ้าใหม่ด้วยเสียงเพลง



ท่าทางเชิดนิดๆ ติดหรูหน่อยๆ และหอมกรุ่นด้วยชาแนลหมายเลข 5 ดูเหมือนจะเป็นภาพลักษณ์ประจำชาติของฝรั่งเศสตลอดมา แต่ตอนนี้สิ่งใหม่ๆ กำลังจะเกิดขึ้นแล้ว...
ภาพลักษณ์ฝรั่งเศสยุคใหม่ที่ออกมาให้เห็นเป็นอย่างแรกคือผลง่านสร้างสรรค์แนวดนตรี ทุกวันนี้นักร้องนักดนตรีจากค่ายฝรั่งเศส เช่น Air, Manu Chao, Saint-Germain, Dart Punk หรือ Laurent Garnier และอีกหลายคนได้ผลิตผลงานที่ผสานตัวโน๊ตกับเทคโนโลยียุคดิจิตอลจนกลายมาเป็นทำนองฮิตติดอันดับไปทั่วโลก ส่วนในแวดวงดีไซน์ หลังจากที่ Philippe Starck ได้บุกเบิกแนวทางเอาไว้แล้ว นักออกแบบรุ่นหลังๆ ก็หันมาสร้างสรรค์ผลงานที่ไม่เน้นเฉพาะความสวยหรูเท่านั้น แต่จะต้องนำมาใช้ประโยชน์ได้จริงและราคาไม่สูงจนเกินเอื้อม ทางด้านแฟชั่นก็มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสเช่นเดียวกัน โดยดีไซเนอร์รุ่นใหม่ของฝรั่งเศสต่างก็ออกแบบโดยคำนึงถึงลูกค้าที่อยู่นอกกลุ่มมหาเศรษฐีไฮโซระดับโลกมากขึ้น ทุกวันนี้ภาพลักษณ์ของฝรั่งเศสยุคใหม่แพร่หลายเข้าไปในทุกวงการ ถ้าคุณต้องการสัมผัสก็ลองเข้าไปดูตามสถานที่ยอดนิยมหรือร้านรวงต่างๆ ได้ทุกแห่ง

"รส"นิยม




เห็ดทรัฟเฟิลจากเปริกอรด์ (Périgord) ไวน์ขาวอัลซาส ขนมอัลมอนด์กวนเคลือบน้ำตาลจากเอ็กซ์-ออง-โปรวองซ์ (Aix-en-Provence)... เป็นตัวอย่างของอร่อยที่แสดงว่าในฝรั่งเศสนั้นอาหารคือศิลปะอีกแขนงหนึ่ง ซึ่งผสานภูมิปัญญาที่สั่งสมจากอดีตเข้ากับความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ เพื่อตอบสนองรสนิยมของผู้บริโภค

ว่ากันว่าคนฝรั่งเศสชำนาญเรื่องอาหารการกิน... ถ้าดูจากยอดขายหนังสือแนะนำร้านอาหารจำนวนหลายพันเล่มในแต่ละปี ก็คงจะกล่าวได้ว่าเป็นเรื่องจริงแท้แน่นอน
นอกจากนี้ ฝรั่งเศสยังมีร้านอาหารทุกประเภทกว่า 110,000 แห่งให้คุณได้ลองชิม
ศาสตร์การอาหาร
กว่าจะได้รับการยกย่องว่าเป็นเชฟมือทอง บุคคลนั้นจะต้องมีความสามารถและความคิดสร้างสรรค์ในศาสตร์ และศิลป์แห่งการปรุงอาหารในระดับสูง แต่ละปีผู้ประกอบวิชาชีพนี้จะแข่งขันกันเพื่อก้าวขึ้นสู่บัลลังก์ทองด้วยการแสดงความสามารถให้เป็นที่ประจักษ์แก่สาธารณชน ตำแหน่งเชพมือทองในอนาคตจะวัดได้จากข้อเขียนของนักวิจารณ์ในหนังสือหรือวารสารที่เกี่ยวกับอาหารหรือจากคำแนะนำของนักชิมที่บอกต่อๆ กันมา
การแข่งขันระดับชาติเพื่อคว้าดาวประกันคุณภาพร้าน


หนังสือแนะนำร้านอาหารฉบับต่างๆ จะมีนักชิมตระเวณออกสำรวจคุณภาพอาหารทั่วทั้งประเทศฝรั่งเศส และให้คะแนนร้านอาหารรสเลิศในรูปแบบต่างๆ เช่น ดาว หมวกเชฟหรือเป็นคะแนน ซึ่งจะช่วยให้นักเดินทางสามารถเลือกร้านอาหารระดับคุณภาพหรือร้านที่เสิร์ฟอาหารพื้นเมืองแท้ๆ ของแต่ละท้องถิ่นได้อย่างมั่นใจ เช่น ซุปหัวหอม กาสซูเล่ต์ (Cassoulet) เมืองตูลูส (สตูว์ถั่วกับไส้กรอก) ชูครุต (Choucroûte) ของแคว้นอัลซาส (กะหล่ำปลีดองกับไส้กรอกและหมูแฮมนานาชนิด) โปเต้ (Potée) ของแคว้นโอแวร์ญ (ซุบผักกับหมูเค็ม) หรือบุยยาแบสเมืองมาร์เซยย์ (ซุปปลา)... ไม่ว่าร้านอาหารที่แนะนำจะเป็นร้านอาหารสุดหรูในเมือง ร้านสไตล์ชนบท หรือร้านเล็กๆ ที่แอบอยู่ข้างถนน คุณก็จะไว้ใจได้ว่า อาหารที่คุณรับประทานนั้นได้ผ่านการปรุงอย่างประณีตจากพ่อครัวผู้มีฝีมือ ใช้เครื่องปรุงคุณภาพเยี่ยมของท้องถิ่นแท้ๆ และนี่คือพื้นฐานของความอร่อยที่คุณจะติดใจไปนาน
คุณจะไปเที่ยวงานฉลองการเก็บองุ่นที่แคว้นอัลซาส (Alsace)
คุณอยากไปอบรมการทำอาหารท้องถิ่นของแคว้นลีมูแซง (Limousin)
คุณสนใจไปชมการทำเนยแข็งในแหล่งผลิตที่แคว้นฟรองช์-ก็งเต้ (Franche-Comté)
คุณอยากไปชิมอาหารทะเลที่แคว้นเบรอตาญ (Bretagne)
คุณอยากลิ้มลองไวน์ชั้นเยี่ยมของบอร์โดซ์ในแคว้นอากีแตน (Aquitaine)

สินค้าคุณภาพของฝรั่งเศส


สบู่หอมธรรมชาติจากมาร์เซยย์เป็นหนึ่งในสินค้าคุณภาพเยี่ยมที่มีชื่อเสียงของฝรั่งเศส

ถ้าคุณยังคิดไม่ออกว่าจะซื้ออะไรกลับไปเป็นของที่ระลึก นอกจากของเล็กๆ น้อยๆ แล้ว คุณน่าจะต้องหาซื้อสินค้าคุณภาพที่ผลิตในฝรั่งเศส ซึ่งรับรองได้ว่าไม่มีที่ใดเหมือนแน่นอน ในสมัยก่อนหมู่บ้านแต่ละแห่งในฝรั่งเศสมีช่างทำรองเท้า ช่างปั้นเครื่องถ้วยชาม หรือช่างทอผ้า ซึ่งผลิตผลงานฝีมือของตนเองออกมาขาย เมื่อเวลาผ่านไป ข้าวของเครื่องใช้หรือแม้แต่เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ก็ดูจะเหมือนๆ กันกับของที่อื่น ไม่มีเอกลักษณ์ของตน แต่โชคดีที่ยังมีข้อยกเว้นสำหรับผลิตภัณฑ์บางอย่าง...


ผลิตภัณฑ์คุณภาพของจริง

ไม่ใช่เรื่องบังเอิญที่สินค้าฝรั่งเศสบางอย่างเป็นที่นิยมสืบเนื่องกันมาตั้งแต่ไหนแต่ไร ผลิตภัณฑ์ของฝรั่งเศสแท้ๆ เหล่านี้ถ้าไม่สวยจับตาก็มีประโยชน์ใช้งานได้ดี แต่ส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติทั้งสองอย่าง เช่น เสื้อสำหรับออกทะเลจากแคว้นเบรอตาญ ซึ่งตัดเย็บด้วยผ้าเนื้อแน่นเป็นพิเศษจนสามารถกันน้ำฝนได้ มีดจากเมืองลักโยล (Laguiole) หรือเมืองโอปีแนล (Opinel) ซึ่งที่จริงเป็นมีดพกประจำตัวของชาวชนบทสมัยก่อน แต่ปัจจุบันได้กลับกลายมาเป็นของหรู หรือตุ๊กตาจากแคว้นโปรวองซ์ ที่ช่างจะบรรจงลงสีด้วยมือทุกตัวและใช้สำหรับประดับฉากคริสตสมภพในวันคริสต์มาส

นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์อื่นๆ อีกมากมายที่คุณจะได้เห็นเมื่อเวลาคุณไปเดินเล่นชมเมืองต่างๆ ของฝรั่งเศส

ถ้าคุณสนใจผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาฝรั่งเศสแท้ๆ ที่มีอยู่อีกมากมาย คุณสามารถเยี่ยมชมการผลิตได้ตามร้านหรือโรงงานต่างๆ ซึ่งมักจะเปิดให้นักท่องเที่ยวที่สนใจได้เข้าชมอย่างใกล้ชิดฟื้นฟูของดีในอดีต

ของดีที่เกิดจากมันสมองของคนรุ่นเก่าได้กลับกลายมาเป็นกระแสความนิยมของคนรุ่นใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บรรดานักออกแบบหัวก้าวหน้าในปัจจุบันต่างก็พากันกลับไปฟื้นฟูกระบวนการผลิตแบบเก่าๆ ตลอดจนนำวัสดุอุปกรณ์ที่หลายคนคิดไม่ถึงว่าจะได้พบเห็นอีก มาประกอบผลงานของตน

นอกจากจะเป็นการฟื้นฟูของดีในอดีตแล้วยังมีการประยุกต์ภูมิปัญญาเก่าๆ ให้มาเข้ากับแนวสร้างสรรค์ยุคใหม่ เช่น ช่างเสื้อและนักออกแบบชั้นแนวหน้ากับช่างฝีมือเอกด้านศิลปะการตกแต่งโต๊ะอาหารแบบฝรั่งเศสแท้ๆ มาร่วมกันพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เข้ากับรสนิยมของคนรุ่นใหม่ และในขณะเดียวกันก็ดำรงไว้ซึ่งความประณีตที่สั่งสมมาจากประสบการณ์อันยาวนานในอดีต ดังนั้นถ้ามีเวลา คุณควรหาโอกาสไปเยี่ยมชมแห่งผลิตแบบนี้


ธุรกิจความหอม


ลองคิดถึงหลอดน้ำหอม 6,000 หลอด วางเรียงรายกันอยู่จนลานตา แต่ละหลอดมีกลิ่นหอมหวนรัญจวนใจ และส่งกลิ่นขจรขจายไปใกล้ไกลไม่เท่ากัน รอให้นักผสมน้ำหอมหรือที่เรียกกันว่า คุณจมูก ซึ่งเป็นกลุ่มผู้มีพรสวรรค์โดยเฉพาะมาเลือกกลิ่นนั้นกลิ่นนี้ แล้วผสมออกมาให้หอมซึ้งที่สุด และถ้ากลิ่นนั้นสมบูรณ์แบบจนเป็นที่นิยม ก็จะขจรไปได้รอบโลกเลยทีเดียว

คุณจะไปเดินเที่ยวชมตลาดนัดตุ๊กตาดินเผาที่แคว้นโปรวองซ์-อัลป์-โกต ดาซูร์ (Provence-Alpes-Côte d’Azur)
คุณอยากไปค้นหาของดีจากภูมิปัญญาเก่าๆ ที่แคว้นโอแวร์ญ (Auvergne)
คุณสนใจชมแหล่งผลิตน้ำหอมที่แคว้นโกต ดาซูร์ (Côte d’Azur)

Lion



Le lion (Panthera leo) quadrupède mammifère carnivore est actuellement le deuxième plus grand félin. Le mâle adulte, aisément reconnaissable à son importante crinière, peut atteindre un poids de 225 kg, tandis que la femelle adulte, plus petite, atteint généralement 150 kg[1]. Le mâle se nourrit de 7 kg de viande chaque jour contre 5 kg chez la femelle. Il vit, contrairement aux autres félins, en groupe. Son espérance de vie, à l'état sauvage, est comprise entre 7 et 12 ans pour le mâle et 14 à 20 ans pour la femelle, mais il dépasse fréquemment les 30 ans en captivité.

La femelle du lion est la lionne, son petit est le lionceau. Le lion rugit. Il n'existe à l'état sauvage actuellement plus que 16 500 à 30 000 spécimens dans la savane africaine, répartis en une dizaine de sous-espèces[2] et environ 300 au Gir Forest National Park au Nord-Ouest de l'Inde[3].

Obéron (personnage)



Obéron, ou Aubéron est le roi des Fées, selon de nombreuses légendes. Il apparaît dans la littérature dès le haut Moyen Âge (Huon de Bordeaux), et il est particulièrement connu comme personnage de William Shakespeare, dans Le Songe d'une nuit d'été (vers 1590).

Obéron apparaît dans de nombreuses autres œuvres, anciennes (Chaucer, Spenser, Wieland) ou modernes.

Légende mérovingienne
Le statut d'Obéron comme roi des elfes provient du personnage d'Alberich (elbe pour elfe, reix,rex pour « roi »), un sorcier dans l'histoire légendaire de la dynastie Mérovingienne. Dans cette légende, il est le « frère » dans l'Autre Monde de Merowech, dont le nom est l'éponyme des Mérovingiens. Alberich gagne pour son fils aîné Walbert la main d'une princesse de Constantinople. Dans l'épopée Nibelungenlied, Alberich garde le trésor des Nibelungen, mais est vaincu par Siegfried.

Geste française

Morgan Le Fay, 1864, Anthony Frederick Sandys (Birmingham Art Gallery)Le nom Obéron est mentionné dans la littéraire française dès la première moitié du XIIIe siècle, comme nain féerique qui aide le héros, dans la chanson de geste Les Prouesses et faitz du noble Huon de Bordeaux.

Quand Huon, fils du comte Seguin de Bordeaux, traverse la forêt où il vit, il est mis en garde contre Obéron par un hermite, mais sa courtoisie l'amène finalement à recevoir les salutations d'Obéron, et ainsi obtenir l'aide de ce dernier dans sa quête. Ayant tué Charlot, le fils de l'empereur (par auto-défense), Huon doit visiter la cour de l'amir de Babylone et exécuter divers exploits pour gagner le pardon. C'est seulement grâce à l'aide d'Obéron, qu'il y réussit.

Cet elfe apparaît avec une taille de nain, mais très beau ; Obéron explique que lors de son baptême, une fée offensée l'a maudit à cette taille — première mention d'une mauvaise fée-marraine). Mais radoucie, celle-ci lui aurait ensuite donné en compensation une grande beauté. Cet aspect singulier, issu de l'Alberich de Nibelungen, la taille de nain, trouvait ainsi une explication. [1]

Le véritable Seguin était comte de Bordeaux sous Louis le Pieux en 839, et mourut en combattant les Normands en 845. Charles l'Enfant, fils de Charles le Chauve, mourut en 866 des blessures infligées par un certain « Aubouin », dans des circonstances similaires à celles du Charlot de l'histoire — un guet-apens. Obéron apparaît donc dans l'imaginaire courtois français du XIIIe siècle, d'après une interprétation de faits historiques datant du IXe.

À ce personnage légendaire, il est donné quelques artefacts celtiques, telle une coupe magique (comparable au Saint Graal) qui reste toujours pleine pour le vertueux : « La coupe magique fournissait leur repas du soir ; son pouvoir était tel, qu'elle proposait non seulement du vin, mais aussi des aliments plus solides quand désirés[2] » selon Thomas Bulfinch. Dans cette histoire, Obéron est également présenté comme l'enfant de la fée Morgane et de Jules César.

Un manuscrit du roman dans la ville de Turin[réf. nécessaire] contient un prologue à l'histoire Huon de Bordeaux, sous la forme d'un roman séparé (dédié au personnage d'Auberon), et quatre suites. Il y eu plus tard des versions françaises.[3]

Agriculture


L'agriculture (du latin agricultura) est l'ensemble des activités économiques ayant principalement pour objet la culture des terres, et d'une manière générale « l'ensemble des travaux transformant le milieu naturel pour la production de végétaux et d'animaux utiles à l'Homme ».

Dans le domaine de l'économie agricole, l'agriculture est définie comme l'ensemble des activités dont la fonction est de produire un revenu financier à partir de l'exploitation de la terre (cultures), des forêts (sylviculture), des produit de la mer, lacs et rivières (aquaculture, pêche), des animaux de ferme (élevage) et des animaux sauvages (chasse).

L'homme, est devenu culturellement omnivore il y a environ trois millions d'années, après avoir vécu de la chasse, de la pêche et de la cueillette pendant des milliers d'années. Si la collecte de graines sauvages est avérée il y a 23000 ans dans l'actuel Israël, l'agriculture proprement dite est apparue entre le VIe et le Ier millénaire avant J.-C. Elle a ensuite profondément évolué au cours des siècles, grâce à son adaptation aux conditions naturelles, à la mise au point de nouvelles techniques agricoles (la houe, la herse) et de nouveaux produits chimiques (les engrais minéraux, les produits phytosanitaires), et à l'introduction de variétés améliorées (voir amélioration des plantes).

L'agriculture diffère de l'agronomie, laquelle représente l'ensemble des connaissances scientifiques, économiques et sociales auxquelles il est fait appel pour comprendre l'agriculture dans toutes ses dimensions.

Radar


Le radar est un système qui utilise les ondes radio pour détecter et déterminer la distance et/ou la vitesse d'objets tels que les avions, bateaux, ou encore la pluie. Un émetteur envoie des ondes radio, qui sont réfléchies par la cible et détectées par un récepteur, souvent situé au même endroit que l'émetteur. La position est estimée grâce au temps de retour du signal et la vitesse est mesurée à partir du changement de fréquence du signal par effet Doppler.

Le radar est utilisé dans de nombreux contextes : en météorologie, pour le contrôle du trafic aérien, pour la surveillance du trafic routier, par les militaires, en astronautique, etc. Le mot lui-même est un néologisme provenant de l'acronyme anglais : RAdio Detection And Ranging, que l'on peut traduire par « détection et estimation de la distance par ondes radio » ou plus simplement « radiorepérage ». Cet acronyme d'origine américaine a remplacé le sigle anglais précédemment utilisé : "RDF" (Radio Direction Finding). Depuis, le mot "radar" est entré dans la langue usuelle, perdant donc son écriture en lettres majuscules.

Homme de Tian'anmen


L'homme de Tian'anmen, Tank man (l'Homme au tank) ou encore The Unknown Rebel (le Rebelle inconnu) est le surnom de l'homme resté anonyme, mais mondialement célèbre, qui fut filmé et photographié alors qu'il s'efforçait de bloquer la progression d'une colonne d'au moins 17 chars de l'Armée populaire de libération lors des manifestations de la place Tian'anmen, en 1989, en République populaire de Chine.

Le monde entier fut frappé par cette scène d'un pilote du char tentant vainement de contourner l'inconnu. L'image de l'incident est couramment utilisée pour symboliser la lutte pour la démocratie.

Deux clichés de la scène sont visibles sur la version anglaise de cet article, mais ne peuvent être reproduits ici pour des raisons de protection des droits d'auteur.

Déroulement
L'incident se déroule à Pékin, le 5 juin 1989, à proximité de la place Tian'anmen, qui se trouve au sud de la Cité interdite. Au deuxième jour des violentes répressions des protestations par le gouvernement chinois, l'homme se tenait à 800 mètres à l'est de la porte Tian'anmen, au carrefour entre l'avenue Dongchang'anjie (东长安街), empruntée par les chars, qui arrivent de l'ouest, l'avenue Zhengyilu (正义路) au sud, et l'avenue Nanheyandajie (南河沿大街) au nord. Les photos et films de la confrontation ont été réalisés par des journalistes étrangers depuis l'hôtel Pékin (北京饭店, Beijing Fandian) situé sur Dongchang'anjie.

L'homme est seul debout au milieu de la route quand les chars s'approchent. Il semble porter un sac dans chaque main. Les chars s'arrêtent devant lui et il semble leur faire signe de repartir. En réponse, le char de tête essaie de contourner l'homme mais celui-ci se place à nouveau sur le chemin des chars. Puis l'individu grimpe sur le dessus du char de tête et a une conversation avec le conducteur. Les versions de ce qui a été dit au conducteur varient : « Pourquoi êtes-vous là ? Ma ville est en chaos à cause de vous », « Faites demi-tour et arrêtez de tuer mon peuple » et « Partez ». Les vidéos montrent que des spectateurs anxieux ont ensuite éloigné l'homme et l'ont absorbé dans la foule, et que les chars ont continué leur chemin. Certains suspectent que les spectateurs étaient en fait des policiers en civil, mais ceci n'a pas été confirmé. Un journal britannique annonce également que l'homme a été exécuté, plusieurs jours après l'incident, mais sans que ceci ne puisse non plus être confirmé.


L'homme
On ne connaît pas de façon certaine l'identité de l'homme. Peu de temps après l'incident, le tabloid britannique the Sunday Express l'appela Wang Weilin, étudiant de 19 ans ; cependant, la véracité de cette information est douteuse.

Il existe plusieurs histoires non concordantes par rapport à ce qui est arrivé à l'homme après la manifestation. Bruce Herschensohn, ancien assistant député du président Richard Nixon reporta que l'homme fut exécuté 14 jours plus tard ; d'autres sources disent qu'il a été tué par un peloton d'exécution quelques mois après les protestations de la place Tian'anmen. Dans Red China Blues : My Long March from Mao to Now, Jan Wong écrit que l'homme est toujours vivant et se cache en Chine.

Le récit d'un témoin oculaire des événements, publié en octobre 2005 par Charlie Cole, photographe pour le magazine Newsweek à l'époque, indique que l'homme fut arrêté immédiatement après par le Bureau de sécurité publique chinois.

Le gouvernement de la République populaire de Chine fit peu de commentaires à propos de cet incident et de l'homme impliqué. Dans une interview de 1990 avec Barbara Walters, Jiang Zemin, alors secrétaire général du Parti communiste chinois, indique qu'il ne pense pas que l'homme ait été tué.

Un article récent dans le journal hong-kongais Apple Daily indique que Wang réside actuellement à Taiwan.

Larve


La larve est le premier stade de développement de l'individu après l'éclosion de l'œuf ou la naissance chez un grand nombre d'espèces animales, ayant un développement post-embryonnaire appelé "indirect". On rencontre ce type de développement principalement dans la plupart des embranchements notamment chez les arthropodes (insectes, crustacés), les mollusques, les annélides, et les chordés (urochordés, "poissons", amphibiens).

La larve a le plus souvent une forme et un mode de vie très différents de ceux de l'adulte. Son corps est généralement mou, et parfois dépourvu des structures locomotrices de l'adulte (pattes, ailes). Certaines larves sont immobiles. Chez les arthropodes, sa croissance passe par des mues successives. Chez certaines espèces, il existe ainsi plusieurs stades larvaires successifs. Elle peut connaître des périodes de vie ralentie, appelées diapauses qui lui permettent de résister à la mauvaise saison, la sècheresse ou le froid. La métamorphose transforme la larve en adulte reproducteur. Chez les insectes, un stade intermédiaire entre la larve et l'adulte peut être présent (on l'appelle souvent nymphe ou chrysalide chez les lépidoptères, nymphe chez les coléoptères, nymphe ou pupe chez les hyménoptères, pupe chez les diptères).

Les larves peuvent être aquatiques ou terrestres (en surface ou souterraines). Elles se développent souvent en parasites au détriment d'autres êtres vivants, animaux ou plantes. Ce parasitisme, qui est à l'origine de certaines maladies humaines et animales, est mis à profit dans les méthodes de lutte biologique.

Chez les insectes ravageurs des plantes cultivées, c'est souvent la larve qui provoque le plus de dégâts, notamment la chenille des lépidoptères ou la larve des charançons.

Une larve figure parmi les animaux domestiques : le ver à soie qui est la chenille du bombyx du mûrier, élevée pour son cocon d'où l'on tire la soie naturelle.

L'axolotl est un cas particulier d'animal dont le développement s'interrompt au stade larvaire et qui peut donc se reproduire à l'état larvaire

Bouchon à vin


Un bouchon à vin est un accessoire fermant le volume de la bouteille pour éviter que le liquide contenu ne s'écoule ou s'évapore. Cependant la relation du vin avec l'air demande plus de subtilité.

À la fois poumon et filtre, le bouchon permet une circulation de gaz entre le vin et le milieu extérieur. Selon que cet échange sera équilibré ou non, le vin vieillira bien ou mal. Un bouchon court, poreux, permet des échanges faciles et active le vieillissement. Pour les grands vins que l'on veut conserver longtemps dans les meilleures conditions, on emploie des bouchons très longs, de première qualité.

Une autre qualité primordiale d'un bouchon est sa souplesse. Ainsi, après avoir été comprimé lors du bouchage, il doit "regonfler" pour obturer le goulot de façon bien étanche.

Les bouchons de Champagne sont maintenus par des muselets et des capsules afin d'éviter que la pression interne de la bouteille ne les éjectent. Il en est de même pour la bière, le cidre, le vin mousseux.

l'ancien tramway de Rouen


Mis en service en 1877, l'ancien tramway de Rouen, d’abord à traction animale et à vapeur, fut électrifié en 1896. Son réseau s'étendit bientôt sur les différents quartiers du centre de la ville sur la rive droite de la Seine, atteignit les municipalités du plateau nord, les hauteurs de Bonsecours à l’est, irrigua la vallée textile du Cailly à l’ouest, franchit le fleuve et desservit, au sud, les faubourgs et banlieues industrielles de la rive gauche. Le tramway de Rouen couvrit alors l’agglomération de 70 kilomètres de lignes, le plus long réseau électrique de France à la Belle Époque, contribuant aux succès des événements marquant l’histoire de la ville : exposition coloniale de 1896, fêtes du millénaire normand de 1911.

Même si les années 1920 virent encore une légère croissance du trafic, le développement du réseau était terminé, la concurrence des nouveaux modes routiers de déplacement urbain mettait un terme à son monopole. La montée en puissance des autobus et trolleybus, la crise des années 1930, et surtout la Seconde Guerre mondiale qui ravagea la cité normande, condamnèrent le tramway à la disparition. Les dernières motrices cessèrent de circuler en 1953, après 76 ans de service. Depuis 1994, un nouveau tramway a été remis en exploitation dans la capitale normande.

Lire l'article

Récupérée de « http://fr.wikipedia.org/wiki/Wikip%C3%A9dia:AccueilLumi%C3%A8reSur/17_juin_2007 »

วันพุธที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2550

ฟัวกรา



ฟัวกรา (ฝรั่งเศส: Foie gras [fwɑ gʁɑ]) คือตับห่านหรือเป็ดที่ถูกเลี้ยงให้อ้วนเกิน ฟัวกราได้ชื่อว่าเป็นอาหารฝรั่งเศสที่ดีที่สุด เช่นเดียวกับทรัฟเฟิล มีลักษณะนุ่มมันและมีรสชาติที่แตกต่างจากตับของเป็ดหรือห่านธรรมดา

ใน พ.ศ. 2548 ทั่วโลกมีการผลิตฟัวกราประมาณ 23,500 ตัน ในจำนวนนี้ ประเทศฝรั่งเศสเป็นผู้ผลิตมากที่สุดคือ 18,450 ตัน หรือร้อยละ 75 ของทั้งหมด โดยร้อยละ 96 ของฟัวกราจากฝรั่งเศสมาจากตับเป็ด และร้อยละ 4 มาจากตับห่าน ประเทศฝรั่งเศสบริโภคฟัวกราใน พ.ศ. 2548 เป็นจำนวน 19,000 ตัน[1]

ประเทศฮังการีผลิตฟัวกรามากเป็นอันดับสอง และส่งออกมากเป็นอันดับหนึ่ง คือ 1,920 ตันใน พ.ศ. 2548 โดยเกือบทั้งหมดส่งออกไปที่ฝรั่งเศส


การป้อนอาหาร ในการผลิตฟัวกรา (เรียกขั้นตอนนี้ว่า gavage)องค์การสิทธิสัตว์ทุกแห่ง และองค์การความเป็นอยู่สัตว์เกือบทุกแห่ง ถือว่าขั้นตอนการผลิตฟัวกรานั้นโหดร้าย เนื่องจากการบังคับป้อนอาหาร และผลกระทบต่อสุขภาพจากตับที่ใหญ่ขึ้น

การผลิตฟัวกรานั้นผิดกฎหมายในหลายพื้นที่ (แต่การจำหน่ายฟัวกราที่ผลิตจากที่อื่นนั้นไม่จำเป็นว่าต้องผิดกฎหมาย) ได้แก่่

นอร์เวย์
เนเธอร์แลนด์
เดนมาร์ก
โปแลนด์ (เคยเป็นผู้ผลิตอันดับ 5 ของโลก เมื่อ พ.ศ. 2542)
ฟินแลนด์
เยอรมนี
ลักเซมเบิร์ก
สวิตเซอร์แลนด์
สวีเดน
สหรัฐอเมริกา: เมืองชิคาโก มลรัฐแคลิฟอร์เนีย (เริ่ม พ.ศ. 2555)
สหราชอาณาจักร
สาธารณรัฐเช็ก
ออสเตรีย (6 ใน 9 รัฐ)
อาร์เจนตินา
อิตาลี
อิสราเอล
ไอร์แลนด์

คีช



คีช (quiche; สัท.: [kiːʃ]) เป็นอาหารจานอบชนิดหนึ่งโดยมีส่วนประกอบหลักคือ ไข่ นม หรือ ครีม ถึงแม้ว่าคีชจะมีลักษณะคล้ายพายแต่คีชถูกจัดเป็นอาหารคาว โดยในคีชอาจมีส่วนประกอบอื่นเช่น เนื้อสัตว์ ผัก เนยแข็ง ได้
ถึงแม้ว่าคีชจะมีส่วนประกอบหลายอย่างคล้ายอาหารประเภทพาสตา แต่ไม่ถูกจัดว่าเป็นส่วนหนึ่งของพาสตา

พาย
พาย คืออาหารชนิดหนึ่งที่ผ่านกระบวนการวิธีในการอบ โดยปกติพายจะบรรจุไส้ต่างๆ ไว้ด้านใน เช่น เนื้อ ปลา ผัก ผลไม้ ชีส ครีม ชอคโกแลต คัสตาร์ด ถั่ว หรือของหวานอื่นๆ พายจะมี 2 ลักษณะคือ แบบที่มีแป้งประกบทั้งสองด้าน เช่น พายไก่ หรือ พายสับปะรด หรืออีกประเภทที่วางอยู่บนแป้งด้านหนึ่ง เช่นพายที่เป็นขนมหวาน โดยไส้ที่เป็นของหวานหรือผลไม้ จะวางบนแผ่นแป้งที่เรียกว่า ครัสต์ พายประเภทที่เป็นของหวานมักจะผ่านกระบวนการอบเฉพาะส่วนของแป้งเท่านั้น ส่วนไส้ในจะมาใส่ภายหลัง

Crayon mine




Le crayon mine, souvent appelé crayon à papier, ou dans le nord de la France crayon de bois, crayon-bois ou crayon gris, ou dans l'est de la France crayon de papier, est utilisé dans de nombreux domaines. Le fait qu'il soit facile d'effacer ses traits à l'aide d'une gomme est l'une des raisons de son succès.

Il est constitué d'au moins deux parties :

un centre en graphite mélangé à de l'argile, appelé mine, servant à laisser des traces ;
une protection en bois protégeant la mine de la cassure et les doigts de l'utilisateur de traces noires.
Le crayon mine a été mis au point par Nicolas-Jacques Conté en 1795 pour remplacer un graphite pur (appelé plombagine) provenant d'Angleterre. Parfois, à une de ses extrémités, se trouve une petite gomme permettant quelques effacements.

Avant la généralisation de l'invention de Conté, le crayon était un tube métallique fendu et muni d'une petite bague coulissante pour maintenir la mine, ceci aux deux extrémités, ce qui permettait d'utiliser deux mines différentes (plombagine et craie blanche, ou sanguine, sépia, etc). Par la suite, pour le dessin technique ou de précision, le crayon mine a été remplacé par le portemine utilisant des mines aux diamètres calibrés de 0,3, 0,5 ou 0,9 mm (pour les principaux formats).

Dureté des mines
Les crayons mine se classent comme suit :


9H 8H 7H 6H 5H 4H 3H 2H H F HB B 2B 3B 4B 5B 6B 7B 8B 9B
Sec → Moyen → Gras

H signifie hard (« dur » en anglais, que l'on pourrait traduire par « sec ») ;
B signifie black (« noir » en anglais) ;
HB signifie hard black (c'est-à-dire « moyen ») ;
F est le véritable milieu, HB étant en fait un peu plus gras.
Cette classification a été crée par Lothar Faber vers 1839 ; elle est très courante en France. On trouve également une codification numérique utilisée dans de nombreux pays.

Plus le crayon est sec (H), plus sa trace sera légère ; plus le crayon est gras (B), plus sa trace sera noire. La version la plus répandue est le HB. En dessin, on utilise généralement du HB, facile à effacer, puis l'on renforce les ombres au moyen de crayons plus gras. Les mines les plus dures sont surtout utilisées en dessin technique.

La dureté est en liaison directe avec la proportion d'argile contenu dans la mine : plus celle-ci est importante, plus la mine porte du côté "H" : l'argile est une charge (maigre), le graphite joue simultanément le rôle de liant (gras) et de pigment.

Il existe aussi des crayons en graphite sans bois, appelés mine de plomb ou mine de graphite.


Types de crayons

Crayons de couleurs
Cette section est vide ou n'est pas assez détaillée, votre aide est la bienvenue !

Les crayons de couleurs utilisent des mines faites de pigments mélangées à de l'argile et de la gomme ou de la résine. Ils sont apparus au début du XXème siècle et leur emploi s'est généralisé dans la seconde moitié du siècle .

Généralement, ceux-ci sont en bois, mais par souci de sécurité, des crayons « sans bois », et des crayons de cire ont fait leur apparition. Destinés aux plus jeunes, ils permettent une meilleure prise en main (grâce à un format « large » adapté) et évitent les échardes.

Les crayons de couleurs font aussi partie de la trousse de l'écolier.


Crayon aquarelle
Les crayons aquarelles sont des crayons de couleurs constitués de mines miscibles dans l'eau, ils sont utilisés seuls ou dans les techniques mixtes avec la gouache et l'aquarelle. Les traces de crayons allongés d'eau se diluent et donnent l'aspect de l'aquarelle.


Crayon pastel
Les crayons pastel ont une mine dont la constitution est celle du pastel sec mais rendue moins friables par l'adjonction d'une plus importante quantité de gomme arabique. Ils s'emploient seuls ou en complément de la technique du pastel sec et aussi dans des technique mixtes, notamment avec la gouache.


Crayon fusain
Les crayons fusains sont constitués de mines en fusain aggloméré, comme pour les crayons graphites, ils sont plus ou moins tendre, leur dureté varie entre 4h à 4b. Ils permettent un travail plus précis que les batons de fusains.


Voir aussi
Mine (crayon)
Mine de plomb
Fusain
Portemine
Taille-crayon

Hippopotamidae


Les Hippopotamidés sont des Mammifères Cétartiodactyles du clade des Cétongulés. Ce sont des animaux massifs au corps en forme de tonneau. Les pattes sont en pilier et la bouche est large. Leurs narines peuvent se refermer par contraction, ce qui s'avère très pratique dans leur mode de vie amphibie : ils peuvent grâce à ce système éviter l'entrée d'eau dans leurs poumons quand ils se déplacent sous l'eau.

Classification
Hexaprotodon Falconer et Cautley, 1836
Hexaprotodon liberiensis - hippopotame pygmée africain
Hexaprotodon madagascariensis - hippopotame pygmée malgache
Hippopotamus Linnaeus, 1758
Hippopotamus amphibius - L'hippopotame commun
Hippopotamus lemerlei

Références externes
Hippopotamidae dans Tree of Life web project (en)
Référence ITIS : Hippopotamidae Gray, 1821 (fr) (+version (en))
Référence AnimalDiversityWeb : Hippopotamidae (en)
Référence NCBI Taxonomy : Hippopotamidae (en)
Référence CITES : famille Hippopotamidae (fr+en) (sur le site de l’UNEP-WCMC)

Classification classique
Insectivores
Carnivores
Archontes
Volitantiens
Euarchonta
Tubulidentés
Cétongulés
Cétartiodactyles
Tylopodes
Clade non nommé
Suines
Clade non nommé
Ruminants
Tragulidés
Antilocapridés
Giraffidés
Moschidés
Cervidés
Bovidés
clade non nommé
Hippopotamidés
Cétacés
Altongulés
Périssodactyles
Téthythériens
Hippopotamidés

Hippopotamus amphibius
Classification classique
Règne Animalia
Embranchement Chordata
Classe Mammalia
Sous-classe Placentalia
Ordre Artiodactyla
Famille
Hippopotamidae
Gray, 1821
Taxons de rang inférieur
Voir texte

Lumière sur…


Central Park (littéralement Parc Central) est un espace vert situé dans le borough de Manhattan à New York. Central Park constitue le plus grand espace vert de la ville de New York, si on ne prend en compte que les cinq grands boroughs de la ville. Achevé en 1873 après treize années de construction, selon les plans de Frederick Law Olmsted et Calvert Vaux, Central Park représente une oasis de verdure au milieu de la forêt de gratte-ciels de Manhattan, même s'il est situé au nord de l'île où les édifices sont moins élevés. Avec en moyenne 25 millions de visiteurs par an, Central Park est le parc le plus visité aux États-Unis.

Lire l'article

Nébuleuse de la Rosette



La nébuleuse de la Rosette (aussi connue sous le nom de NGC 2237) est un vaste nuage de gaz et de poussières qui s'étend sur environ 100 années-lumière et se trouve à 5000 années-lumière du système solaire.

Cette nébuleuse se trouve dans la constellation de la Licorne et s'étend sur un diamètre angulaire de 1,3°.

Au centre, se trouve un amas ouvert d'étoiles jeunes connu sous le nom de NGC 2244. Ces étoiles, qui se sont formées il y a environ 4 millions d'années, émettent un rayonnement ultraviolet qui ionise l'hydrogène du nuage environnant, ce qui donne cette couleur rouge. De plus, elles émettent un vent stellaire qui éclaircit le centre de la nébuleuse, ce qui permet aussi la création de nouvelles étoiles par compression du nuage de gaz et de poussières.

Tour Eiffel


La tour Eiffel est une tour de fer puddlé construite par Gustave Eiffel et ses collaborateurs pour l'Exposition universelle de 1889. Situé à l'extrémité du Champ-de-Mars, en bordure de la Seine, ce monument parisien, symbole de la France et de sa capitale est le troisième site le plus visité du pays.

D'une hauteur de 300 mètres à l'origine, surélevée par la suite de nombreuses antennes culminant à 325 mètres, la tour Eiffel est restée l'édifice le plus élevé du monde pendant quarante ans. Utilisée dans le passé pour de nombreuses expériences scientifiques, elle sert aujourd'hui d'émetteur de programmes radiophoniques et télévisés.

___ Ce site est desservi par la station de métro : Bir-Hakeim.

Ce site est desservi par la station Champ de Mars - Tour Eiffel du RER

Louis Nicolas Davout


Louis Nicolas Davout

Surnom : Davout
Naissance : 10 mai 1770
Annoux, France
Décès : 1er juin 1823 (à 53 ans)
France
Nationalité : France
Grade militaire : Maréchal d'Empire
Service : 1780 - 1815
Conflits : Guerres de la Révolution
Guerres napoléonniennes
Faits d'armes : 1793 : Bataille de Neerwinden
1798 : Campagne d'Égypte
1800 : Bataille de Marengo
1805 : Bataille d'Ulm
1805 : Bataille d'Austerlitz
1806 : Bataille d'Auerstaedt
1807 : Bataille d'Eylau
1807 : Bataille de Friedland
1809 : Bataille d'Eckmühl
1809 : Bataille de Wagram
1812 : Bataille de la Moskowa

Distinctions : Grand' Croix de la Légion d'honneur
Duc d’Auerstaedt
Prince d’Eckmühl
Pair de France
Autres fonctions : Gouverneur-général du
grand duché de Varsovie
Ministre de la Guerre
Maire de Savigny-sur-Orge

วันอังคารที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2550

คำถามคำตอบเกี่ยวกับการศึกษาต่อ

เรียนภาษาฝรั่งเศสแล้วใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง
ในประเทศไทยไม่ค่อยมีโอกาสได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสมากนักก็จริงอยู่ แต่อย่างไรก็ตามในโลกนี้มีประชากรของประเทศต่าง ๆ ใน 5 ทวีปทั่วโลกกว่า 110 ล้านคน ที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส และภาษาฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในภาษาราชการที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ องค์การยูเนสโก หรือสหภาพยุโรป ดังนั้น การใช้ภาษาฝรั่งเศสยังคงมีความจำเป็นในการทำงานด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ยังมีสายงานต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้ใช้ภาษาฝรั่งเศส เช่น การท่องเที่ยว การค้า การส่งออกและนำเข้า งานแปล งานวิเทศสัมพันธ์ในองค์กรภาครัฐและเอกชน

ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาของประเทศที่


เป็นศูนย์รวมทางศิลปะและวัฒนธรรมที่สำคัญของโลก
นำการพัฒนาของสหภาพยุโรป
กลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสกว่า 50 ประเทศ
มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งของโลก
อยู่ในกลุ่มผู้นำทางด้านการค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์
มีมาตรฐานการครองชีพอยู่ใน 5 อันดับแรกของโลก

ในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศสเป็นวิชาเลือกภาษาต่างประเทศอันดับหนึ่ง

หากต้องการไปศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส จำเป็นจะต้องรู้ภาษาฝรั่งเศสไปก่อนหรือไม่
ไม่จำเป็นต้องรู้ภาษาฝรั่งเศสมาก่อนก็ได้ มหาวิทยาลัยฝรั่งเศสทั่วประเทศพร้อมที่จะรับคุณเข้าเรียนหากคุณมีความรู้พื้นฐานในสายวิชาการ หรือวิชาชีพอย่างใดอย่างหนึ่งดีพอ และมีความตั้งใจที่จะพัฒนาความรู้ความเชี่ยวชาญของคุณในระดับที่สูงขึ้นไป เช่น ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

ถ้าไม่รู้ภาษาฝรั่งเศสไปก่อนจะไม่ลำบากแย่หรือ เพราะชาวฝรั่งเศส ส่วนใหญ่ไม่ค่อยพูดภาษาอังกฤษ
ชาวฝรั่งเศสไม่ค่อยได้ใช้ภาษาอังกฤษ อาจเป็นเพราะชาวฝรั่งเศสมีความภูมิใจในภาษาของตน และมีการพัฒนาของตนเองเพียงพอที่จะไม่จำเป็นต้องใช้ภาษาอังกฤษ


ในทางตรงกันข้ามความไม่รู้ของพวกเขาน่าจะเป็นผลดีกับคุณ เพราะจะช่วยกระตุ้นให้คุณพูดภาษาฝรั่งเศสจนคล่องภายในเวลาอันรวดเร็วยิ่งขึ้น เพราะความจำเป็นบังคับ อย่างไรก็ดี คนฝรั่งเศสรุ่นใหม่มีความรู้ภาษาต่างประเทศดีกว่าเดิมมาก ทั้งนี้ เป็นผลมาจากสื่อต่าง ๆ ในโลกแห่งการสื่อสารไร้พรมแดน และการสร้างจิตสำนึกเรื่องการมีส่วนร่วมในสหภาพยุโรป



จะศึกษาต่อด้านใดได้บ้าง


คนไทยส่วนใหญ่มักจะรู้จักประเทศฝรั่งเศสเพียงบางแง่มุมเท่านั้น เช่น แฟชั่น น้ำหอม ไวน์ อาหารเลิศรส และงานศิลปะ นอกเหนือจากภาพพจน์เดิม ๆ แล้ว ฝรั่งเศสในปัจจุบันมีการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น รถไฟความเร็วสูง (TGV) ที่ช่วยให้สามารถเดินทางได้รวดเร็วและสะดวกสบายพอ ๆ กับนั่งเครื่องบิน จรวดแอเรียนที่ส่งดาวเทียมไทยคมขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ หรือโครงการไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในโลกที่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ถึง 80% ของปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ใช้ทั้งหมดภายในประเทศฝรั่งเศส หรือการค้นพบไวรัสโรคเอดส์ ดังนั้น นอกจากวิชามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักมาในอดีต (กฎหมาย รัฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์และวรรณคดี การสอนภาษาฝรั่งเศสในฐานะภาษาต่างประเทศ การแปล เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ) นักวิชาการฝรั่งเศสยังเป็นที่ยอมรับจนได้รับรางวัลโนเบลมาแล้วหลายท่าน (4 คนในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา) นักเรียนไทยสามารถเลือกเรียนสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ เช่น เคมี ฟิสิกส์ เทคโนชีวภาพ ฯลฯ ในระดับสูงได้อีกด้วย


เหตุใดจึงไม่ค่อยมีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการศึกษาต่อในประเทศฝรั่งเศส
สถาบันการศึกษาของฝรั่งเศสเป็นของรัฐเกือบทั้งสิ้น โดยได้งบประมาณจากรัฐและไม่มีวัตถุประสงค์ทางด้านกำไร ดังนั้น จึงไม่ค่อยมีการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จัก ไม่ว่าจะเป็นในหรือนอกประเทศ ทั้ง ๆ ที่สถาบันการศึกษาของฝรั่งเศสมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในนานาประเทศ และมีมาตรฐานใกล้เคียงกันทั่วประเทศ บางแห่งมีชื่อเสียงโด่งดังอยู่ในอันดับต้น ๆ ของยุโรป เช่น โรงเรียนวิชาชีพชั้นสูงด้านวิศวกรรมศาสตร์ โรงเรียนโพลีเทคนิค เป็นต้น


อย่างไรก็ดี ในช่วงหลังรัฐบาลฝรั่งเศสได้พยายามสนับสนุนให้สถาบันการศึกษาก้าวเข้าไปสู่ระดับนานาชาติมากยิ่งขึ้น โดยสร้างความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยของประเทศอื่น ๆ อีกหลายแห่ง มีโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา การส่งนักศึกษาไปฝึกงาน และการส่งอาจารย์ไปเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ


สถาบันการศึกษาฝรั่งเศสมีนโยบายจะขยายการรับนักศึกษาต่างชาติจากประเทศที่ยังมีจำนวนนักศึกษาไม่มาก ดังเช่นหลายประเทศในเอเชีย จึงมีการริเริ่มจัดงานแนะแนวการศึกษาต่อในประเทศฝรั่งเศส เช่น ในประเทศไทยได้จัดการแนะแนวการศึกษาต่อฝรั่งเศสทุกปีตั้งแต่ พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา ทั้งในกรุงเทพฯ และเชียงใหม่ นอกจากนี้ ยังมีการจัดบรรยายพิเศษเกี่ยวกับระบบการศึกษาฝรั่งเศสในสถาบันการศึกษาของไทยหลายแห่ง


มีนักศึกษาต่างชาติในประเทศฝรั่งเศส จำนวนเท่าใด
นักศึกษาต่างชาติในประเทศฝรั่งเศสมีจำนวนทั้งหมด ประมาณ 140,000 คน ทั่วประเทศคิดเป็น 10% ของประชากรนักศึกษาทั้งหมด


ส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาจากประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส แต่ก็มีนักศึกษาจำนวนไม่น้อยจากหลายประเทศในยุโรป อเมริกา อเมริกาใต้ นักศึกษาจากทวีปเอเชียยังมีไม่มากนัก (คิดเป็นประมาณ 15% ของจำนวนนักศึกษาต่างชาติทั้งหมด) ส่วนใหญ่มาจากไต้หวัน เกาหลี และญี่ปุ่น


สถานภาพของนักศึกษาต่างชาติเป็นอย่างไร
นักศึกษาต่างชาติมีสถานภาพไม่ต่างจากนักศึกษาฝรั่งเศสแต่อย่างใด แม้แต่การจ่ายค่าเล่าเรียนในจำนวนที่เท่ากัน เรียนรู้ด้วยมาตรฐานเดียวกัน ประกาศนียบัตรและปริญญาที่ได้รับจึงมีศักดิ์ และสิทธิ์เท่าเทียมกันทุกประการ และคุณยังจะได้กำไรชีวิตจากการรู้ภาษาที่สามเพิ่มจากภาษาอังกฤษและภาษาแม่ของคุณเอง การเรียนรู้วิธีการเรียน วิธีการทำงาน วิธีการคิด อีกทั้งการได้รู้จักวัฒนธรรม วิถีชีวิตที่แตกต่างออกไปจากสิ่งที่คุณคุ้นเคย สิ่งเหล่านี้เป็นประโยชน์ต่อการปรับตัวในโลกแห่งการสื่อสารไร้พรมแดนเป็นอย่างยิ่ง


ประกาศนียบัตรและปริญญาของสถาบันการศึกษาฝรั่งเศส ได้รับการยอมรับในประเทศไทยหรือไม่
สถาบันการศึกษาฝรั่งเศสส่วนใหญ่เป็นของรัฐ ในส่วนที่เป็นสถาบันเอกชน เช่น โรงเรียนสอนการโรงแรม การออกแบบเสื้อผ้า ฯลฯ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการและพลเรือน (ก.พ.) เทียบประกาศนียบัตรและปริญญาในระดับต่าง ๆ ให้แก่ผู้สำเร็จการศึกษา ได้แก่


- Diplôme ขึ้นอยู่กับหลักสูตรที่เรียน อาจแตกต่างกันมาก เช่น ประกาศนียบัตรสำหรับผู้เข้าฝึกอบรมระยะสั้น หรือประกาศนียบัตรระดับวิศวกรรมศาสตร์ก็ได้
- Licence จบหลักสูตรได้ภายใน 3 ปี เทียบเท่าปริญญาตรี
- Maîtrise จบหลักสูตรได้ภายใน 1-2 ปี มักมีการทำวิทยานิพนธ์ เทียบเท่าปริญญาโท
- DEA จบหลักสูตรได้ภายใน 1 ปี เป็นประกาศนียบัตรระดับสูงเน้นความพร้อมด้านระเบียบวิธีการวิจัย เพื่อเขียนวิทยานิพนธ์สำหรับปริญญาเอกต่อไป เมื่อได้ประกาศนียบัตรนี้แล้ว จะสามารถขออนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์ได้ เทียบได้กับระดับปริญญาที่สูงกว่าปริญญาโทหนึ่งขั้น
- DESS จบหลักสูตรได้ภายใน 1 ปี เป็นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ขั้นสูงเฉพาะด้าน เช่น การแปล ล่าม กฎหมายธุรกิจ ฯลฯ เป็นระดับปริญญาที่สูงกว่าปริญญาโทหนึ่งขั้น
- Doctorat จบหลักสูตรได้ภายใน 3-5 ปี เทียบเท่าปริญญาเอก


จะต้องเสียค่าใช้จ่ายเท่าใดในการศึกษาต่อในประเทศฝรั่งเศส
รัฐบาลฝรั่งเศสจัดงบประมาณสนับสนุนระบบการศึกษา เพื่อสร้างโอกาสความเท่าเทียมทางการศึกษาให้กับทุกคน และมีโอกาสสร้างความก้าวหน้าในชีวิต โดยเฉลี่ยต่อปี ค่าใช้จ่ายสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยในฝรั่งเศสต่อคนคิดเป็นเงิน 7,200 ยูโร สำหรับสาขาวิชาขั้นสูงบางสาขา เช่น วิศวกรรมศาสตร์ รัฐบาลฝรั่งเศสอาจมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยถึง 13,600 ยูโร ต่อคน


โดยความเป็นจริงแล้ว นักศึกษาแต่ละคนจ่ายค่าลงทะเบียนเรียนในมหาวิทยาลัยเพียงแค่ประมาณ 230 ยูโร รัฐบาลเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายส่วนที่เหลือ ในรูปแบบของการสนับสนุนงบประมาณแก่สถาบันการศึกษา เป็นเงิน 6,860 ยูโร ต่อปี สำหรับนักศึกษาในมหาวิทยาลัยหนึ่งคน (ข้อมูลตัวเลขจากฝ่ายประเมินและวางแผน กระทรวงศึกษาธิการฝรั่งเศส)


นักศึกษาฝรั่งเศส และนักศึกษาต่างชาติ ต่างก็มีค่าใช้จ่ายในการ ลงทะเบียนดังที่แสดงไว้ข้างต้นเท่ากัน จึงอาจกล่าวได้ว่า นักศึกษาชาวต่างชาติทุกคนในประเทศฝรั่งเศสเป็นนักเรียนทุนที่ได้รับการสนับสนุนด้านการเงินส่วนหนึ่งจากรัฐบาลฝรั่งเศสด้วยเหมือนกัน

จะเลือกสถานศึกษาอย่างไรดี
ในระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยแทบทุกแห่งมีคณะ สาขาวิชา และ หลักสูตรที่ไม่แตกต่างกันมากนัก จึงควรเลือกสถานศึกษาตามข้อพิจารณา ดังต่อไปนี้

สำหรับระดับมหาบัณฑิตศึกษา คุณควรสำรวจความต้องการที่แท้จริงของตนเองเสียก่อนว่ามุ่งมั่นจะเรียนสาขาวิชาเฉพาะด้านสาขาใด และหากเป็นไปได้ควรคิดถึงหัวข้อที่ต้องการจะศึกษา เช่น ต้องการมีความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายแรงงาน กฎหมายธุรกิจ หรือกฎหมายสหภาพยุโรป เป็นต้น

ในระดับปริญญาเอก แต่ละมหาวิทยาลัยจะมีความโดดเด่นของสาขาวิชาที่ทำการค้นคว้าวิจัยต่างกันออกไป จึงควรหาข้อมูลอย่างละเอียดมากขึ้น อีกประการหนึ่ง มหาวิทยาลัยจะรับเข้าศึกษาในระดับปริญญาเอก ก็ต่อเมื่อมีการตอบรับจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว จึงจำเป็นต้องติดต่อกับอาจารย์โดยตรง เพื่อเจรจาให้รับเป็นที่ปรึกษาในหัวข้อเฉพาะนั้น ๆ ทางที่ดีที่สุดคือ คุณควรติดต่อขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญด้านการแนะแนวการศึกษาของสถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสฝ่ายวัฒนธรรม

จะเรียนในกรุงปารีสหรือเมืองอื่น ทางเลือกใดดีกว่ากัน
ในสายตาคนไทย ปารีสคือฝรั่งเศส และฝรั่งเศสคือปารีส หรือไม่ก็ จำได้แต่ชื่อ “ลา ซอร์บอนน์ (La Sorbonne)” แท้ที่จริงแล้ว มหาวิทยาลัยปารีสมี 13 แห่งด้วยกัน เรียกโดยใช้ตัวเลขต่อท้ายแต่ละแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยปารีส 4

ลา ซอร์บอนน์ ตั้งชื่อจากนามของ โรแบรต์ เดอ ซอร์บง (Robert de Sorbon) ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยปารีส ในปี พ.ศ. 1800 (ค.ศ. 1257) หมายถึงมหาวิทยาลัยปารีส 4 เป็นต้น

นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยของรัฐในเมืองอื่น ๆ อีก 90 แห่งด้วยกัน ซึ่งโดยทั่วไปแล้วชาวฝรั่งเศสไม่นิยมอ้างสถาบัน แต่จะบอกว่าตนจบสาขา วิชาใด ทั้งนี้อาจเป็นเพราะมหาวิทยาลัยฝรั่งเศสทุกแห่ง มีมาตรฐานการศึกษาใกล้เคียงกัน

ปริญญาของมหาวิทยาลัยได้รับการรับรองวิทยฐานะจากรัฐบาล ดังนั้น การเลือกเรียนในมหาวิทยาลัยปารีส หรือมหาวิทยาลัยอื่น ๆ จึงไม่มีความแตกต่างทางวิชาการมากนัก สิ่งที่ควรนำมาพิจารณาในการเลือกสถานศึกษา จึงน่าจะเป็นเรื่องของชีวิตความเป็นอยู่ในเมืองนั้น ๆ เสียมากกว่า เช่น สภาพทั่วไปของเมือง ที่อยู่อาศัย ลมฟ้าอากาศ (ภาคใต้ของฝรั่งเศสมีอากาศอบอุ่นกว่ามาก) ค่าครองชีพ ความเอื้ออารีของผู้คน กิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมสำหรับเยาวชน ฯลฯ

สิ่งที่คุณควรทำเพื่อเตรียมตัวไปศึกษาต่อคือ สมัครเรียนภาษาฝรั่งเศสในสถาบันภาษาแห่งใดแห่งหนึ่ง เป็นเวลาประมาณ 6 เดือน ถึง 1 ปี (หลักสูตรเร่งรัดวันละ 4-5 ชั่วโมงทุกวัน) เพื่อสร้างทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน จนพอที่จะสื่อสารกับเพื่อนและอาจารย์ได้ เมื่อไปถึงฝรั่งเศสและส่ง ใบสมัครเข้าเรียนตามกำหนดแล้วคุณจะต้องเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อสัมภาษณ์ โดยอาจารย์จะประเมินความรู้เฉพาะด้านของคุณ แรงจูงใจใน การเข้าเรียน และการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร อาจารย์จะเป็นผู้ตัดสินรับคุณเข้าศึกษาได้ทันทีโดยไม่ต้องสอบเข้า


ในปัจจุบัน มีหลักสูตรการสอนที่ใช้ภาษาอังกฤษในการเรียนการสอนมากขึ้น ในหลาย ๆ สาขาวิชา อย่างไรก็ตาม ในการใช้ชีวิตประจำวันก็ยังคงมีความจำเป็นต้องใช้ภาษาฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส ดินแดนแห่งเทศกาล

ฝรั่งเศส ดินแดนแห่งเทศกาล


งานฉลองที่มีสีสันและสนุกสนานตั้งแต่เช้ายันค่ำ จะหมุนเวียนจัดกันไปจัดตามเมืองต่างๆ ทั่วฝรั่งเศส


งานเทศกาลที่จัดกันในปัจจุบันล้วนเป็นมรดกตกทอดสืบต่อกันมาตั้งแต่ครั้งอดีต หมู่บ้านแต่ละแห่งจะต้องมีงานฉลองของตน และในแต่ละเมืองจะต้องมีเทศกาลของดีของเด่นประจำปีไว้สนุกสนานกัน เช่น งานเดินขบวนคนยักษ์ (คนต่อขา) ของทางตอนเหนือของฝรั่งเศส งานคาร์นิวัลเมืองนีซ (Nice) งาน Ferias เมืองนีมส์ (Nîmes) และเมืองอาร์ล (Arles) งานประจำปีเมืองบายอน (Bayonne) หรือเมืองเบซิเยส์ (Béziers) ฯลฯ งานเหล่านี้เป็นที่รวมความสนุกสนานของชาวเมืองซึ่งยินดีต้อนรับนักท่องเที่ยวจากต่างถิ่นให้มาร่วมความบันเทิงด้วยกัน นอกจากงานเทศกาลต่างๆ ในเขตภูมิภาคแล้ว ฝรั่งเศสยังมีงานสำคัญประจำปีระดับชาติอีก 2 งาน ซึ่งทุกเมืองจะเฉลิมฉลองพร้อมๆ กัน งานแรกคืองานวันชาติ 14 กรกฎาคมซึ่งเป็นวันสำคัญที่เปิดตัวด้วยการสวนสนามของทหารเหล่าต่างๆ และจัดขึ้นอย่างใหญ่โตที่ถนนชองส์-เอลิเซ่ส์ (Champs-Elysées) อันเลื่องชื่อของปารีส พอถึงกลางคืนจะมีการจุดดอกไม้ไฟที่สวยงามตระการตา และมีงานเต้นรำที่สนุกสนานแบบฝรั่งเศสแท้ ส่วนตามเมืองใหญ่ๆ มักจัดการแสดงดนตรีกลางแจ้งให้ชมกันโดยไม่ต้องเสียค่าผ่านประตู งานใหญ่งานที่สองคือ เทศกาลดนตรีซึ่งจัดขึ้นทุกวันที่ 21 มิถุนายน เทศกาลนี้เปิดโอกาสให้คนรักดนตรีทั้งมืออาชีพและมือสมัครเล่นได้แสดงความสามารถกันเต็มที่และสุดเหวี่ยงในท้องถนนและทุกหนทุกแห่ง นอกจากนี้ยังมีเทศกาลเพลงคลาสสิค ละคร ละครสัตว์ และอื่นๆ อีกมากมายตลอดทั้งปี เพียงเท่านี้คุณก็คงพอรู้แล้วว่าในฝรั่งเศสความสนุกสนานเพลิดเพลินนั้นไม่มีการเว้นวรรคจริงๆ


สำหรับคนนอนไม่หลับ


ราตรีที่หวานซึ้งหรือค่ำคืนที่เฮฮาเป็นบรรยากาศที่คุณเลือกได้ในสถานบันเทิงที่มีอยู่มากมายหลายแห่ง ถ้าคุณชอบดื่มสังสรรค์กับเพื่อนๆ ในบรรยากาศที่เป็นกันเองแล้วล่ะก็ ตามเมืองใหญ่ๆ ของฝรั่งเศสมีบาร์ซึ่งเปิดเพลงทุกสไตล์ให้เลือกตามรสนิยม ทั้งลาติโน แจ๊ซ ไลท์ มิวสิค เว็บ เทคโน หรือแม้แต่เพลงอาหรับ... และถ้าใครยังไม่เหนื่อยอยากไปเต้นรำต่อ ก็ยังมีสถานบันเทิงขนาดยักษ์ที่เปิดเพลงมันๆ หลายสไตล์โดยดีเจจากทั่วโลก ให้นักดิ้นเท้าไฟได้สะบัดในทุกท่วงท่า ทั้งฮิปฮอป แจ็ซ โซล หรือเพลงแอฟริกัน ส่วนคุณที่ชอบลีลาศแบบหรูหรือบอลรูมแบบเก่าย้อนยุค ก็รับรองว่าไม่มีวันผิดหวัง และเมื่อยามเช้ามาถึงแต่คุณยังมีแรงเที่ยวต่อ ก็ยังมีที่ที่คุณจะได้สนุกส่งท้ายกันอีก

Téhéran


Téhéran est la capitale de l'Iran. Située au nord du pays, au pied des monts Alborz, la ville donne son nom à la province dont elle est également la capitale. Téhéran a vu sa population multipliée par quarante depuis qu'elle est devenue la capitale suite au changement de dynastie de 1786, soit 7 314 000 habitants en 2007, tandis que l'agglomération regroupe 12 486 000 habitants. La ville possède un métro (trois lignes en 2007) et un dense réseau autoroutier.

Cette croissance très importante de Téhéran est principalement due à l'amélioration des conditions de vie ainsi qu'à l'attraction exercée sur les habitants des provinces. Elle a connu une forte accélération à partir de 1974, suite à la forte hausse du prix du pétrole lors du premier choc pétrolier. Les banlieues de la ville ont alors cru très rapidement ; finalement la pression immobilière a eu raison de la politique de développement urbain fixée en 1969.

Téhéran accueille près de la moitié de l'activité industrielle du pays : industrie automobile, équipements électriques et électroniques, armement, textiles, sucre, ciment et produits chimiques. La ville et son bazar sont le pôle de commercialisation des tapis et meubles produits dans l'ensemble du pays.

Lire l'article

l'ancien tramway de Rouen


Mis en service en 1877, l'ancien tramway de Rouen, d’abord à traction animale et à vapeur, fut électrifié en 1896. Son réseau s'étendit bientôt sur les différents quartiers du centre de la ville sur la rive droite de la Seine, atteignit les municipalités du plateau nord, les hauteurs de Bonsecours à l’est, irrigua la vallée textile du Cailly à l’ouest, franchit le fleuve et desservit, au sud, les faubourgs et banlieues industrielles de la rive gauche. Le tramway de Rouen couvrit alors l’agglomération de 70 kilomètres de lignes, le plus long réseau électrique de France à la Belle Époque, contribuant aux succès des événements marquant l’histoire de la ville : exposition coloniale de 1896, fêtes du millénaire normand de 1911.

Même si les années 1920 virent encore une légère croissance du trafic, le développement du réseau était terminé, la concurrence des nouveaux modes routiers de déplacement urbain mettait un terme à son monopole. La montée en puissance des autobus et trolleybus, la crise des années 1930, et surtout la Seconde Guerre mondiale qui ravagea la cité normande, condamnèrent le tramway à la disparition. Les dernières motrices cessèrent de circuler en 1953, après 76 ans de service. Depuis 1994, un nouveau tramway a été remis en exploitation dans la capitale normande.

Lire l'article

วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2550

song



























Rose (fleur)





La rose est la fleur des rosiers, arbustes du genre Rosa et de la famille des Rosaceae. C'est sans doute la fleur la plus cultivée au monde, mais on oublie souvent que le rosier est d'abord une plante sauvage, dont le représentant le plus connu est l'églantier. Quant aux rosiers cultivés dans nos jardins, ils sont le résultat de plusieurs siècles de transformations d'abord empiriques, puis méthodiques, en particulier par l'hybridation.


Antiquité
Les roses sont cultivées en Chine et en Perse depuis 5000 ans et en Grèce depuis l'âge du bronze.

Hérodote a rapporté que le roi Midas, au VIe siècle av. J.-C., quand il a été chassé de Lydie par les armées perses, a emporté ses roses dans son exil en Macédoine[2]. Et le naturaliste grec, Théophraste, décrit une rose à nombreux pétales, une forme de rosa canina, cultivée dans les jardins. Il décrit des roses rouges, roses et blanches, et note l'intensité du parfum de la rose de Cyrène.

Pline l'ancien dans son Histoire naturelle décrit 20 sortes de rosiers nommés par le nom de leur lieu de provenance. Il les décrit, ce qui permet des suggestions d'identification[3] :

la rose de Præneste semble être Rosa gallica versicolor,
la rose de Campanie est une forme de Rosa alba semiplena,
la rose de Tachys est une forme de rosa damascena,
la rose de Milet rouge à une dizaine de pétales est une variété de Rosa gallica,
la rose de Pangée est une autre Rosa gallica,
la rose d'Alabande est une Rosa ×alba,
la rose d'automne ressemble à Rosa sempervirens,
Spinolea est Rosa pimpinellifolia "Myriacantha".
Rosa gallica officinalis est alors la source de l'essence de rose que les Romains utilisaient en grande quantité ainsi que les pétales. Ils confectionnaient des couronnes et des guirlandes de pétales, ils en jonchaient le sol, en remplissaient des coussins. Lors des banquets, si une rose était suspendue, hommage à Harpocrate, dieu du silence, les invités devaient garder secrètes les paroles échangées « sous la rose »[4]. Ils en utilisaient de telles quantité que la culture de la rose devint localement une activité économiquement importante et que Rome importait aussi par bateau des roses d'Égypte (dont c'était la plus importante exportation vers Rome), de Carthage et de Cyrénaïque (l'actuelle Libye).
Ainsi du VIe siècle av. J.-C. au IIe siècle durant toute cette période de domination grecque puis latine, les roses ont circulé de Perse en Angleterre, de Grèce en Égypte.

Sur le Moyen Âge, nous avons peu d'informations : au VIe siècle, les couvents cultivaient des roses, le roi Childebert Ier avait une roseraie (des roses de Paradis d'après l'évêque Fortunat) dans son domaine vers Saint-Germain des Près[5], et au VIIIe siècle dans son Capitulaire De Villis, Charlemagne cite les roses parmi les plantes à cultiver. Au XIIe siècle à la veille des croisades, Albert le Grand note comme rosiers cultivés Rosa rubiginosa, Rosa canina, Rosa arvensis et Rosa ×alba.

Symbolique de la rose




La rose dans l'histoire

C'est surtout par sa valeur symbolique que la rose a laissé son parfum dans l'Histoire. Quelques exemples :

Chez les Grecs, la rose était la fleur d'Aphrodite, déesse de l'amour et d'Aurora, la déesse aux doigts de roses.
Les Romains rattachent la rose à Vénus. La rose aurait été blanche, mais rougie accidentellement quand Cupidon renversa son verre de vin sur elle.
Il paraît que la première nuit d'amour entre Cléopâtre et Marc Antoine se serait déroulée sur un lit de pétales de roses de quarante-cinq centimètres d'épaisseur.
Dans le cantique des cantiques, la rose symbolise Israël[7]
dans le livre des Parsis, le rose nait sans épines et n'en est armée qu'après l'apparition du génie du mal sur terre.
Vers l'an 400, 'Rosa alba devient l'emblème de la Vierge, ce qui est à l'origine de la dévotion catholique du Rosaire.
Quand en 1187, Saladin reprend Jérusalem aux Croisés, il fait purifier la mosquée d'Omar par de l'eau de rose amenée par une caravane de 500 chameaux. Et en 1453 Mehmed II purifia aussi à l'eau de roses l'église byzantine de Constantinople avant de la convertir en mosquée.
La guerre des Deux-Roses de 1453 à 1485 : elle opposa rosa alba, rose blanche de la maison d'York et rosa Gallica, rose rouge de la maison de Lancastre , d'où après le mariage d'Henri VII Tudor et Élisabeth d'York, l'emblème de la rose Tudor rouge à cœur blanc et plus tard la création du rosier 'York et Lancaster'. La rose est aujourd'hui encore la fleur symbolique de l'Angleterre.
Les rosières, jeunes filles vertueuses et pures, à l'origine couronnées de roses
Les Rose-Croix, société secrète mystique ayant pour emblème une rose rouge fixée au centre d'une croix.
La "Rose blanche de Finlande", ordre national finlandais créé en 1919 pour récompenser les services rendus au pays.
La Rose blanche, mouvement d'opposition à Hitler dont les fondateurs furent guillotinés en 1943.
Plus récemment, la rose rouge, associée par François Mitterrand au Parti socialiste français. Ce symbole a également été adopté par d'autres partis politiques européens comme le parti travailliste au Royaume-Uni et le PSOE en Espagne.
En novembe 2003, la rose est le symbole du mouvement non-violent de la « révolution des roses » en Géorgie.


Industrie de la Rose
L'essence de rose est obtenue soit par distillation, procédé qui permet d'utiliser le résidu sous forme d'eau de rose, soit par enfleurage, technique consistant à capter l'essence grâce à de la graisse, dont on extraira ensuite la « concrète », puis l' « absolue ».
Les deux espèces les plus cultivées pour cet usage sont Rosa damascena, ou rose de Damas, et Rosa centifolia, longtemps cultivée à Grasse sous le nom de « rose de mai ». Il faut cependant savoir qu'aujourd'hui on dispose de nombreuses « copies » synthétiques qui permettent de se passer d'essences naturelles.
La rose en médecine
Sirop rosat, sucre rosat, miel rosat étaient très utilisés au Moyen Âge pour soigner les maux de tête et les lourdeurs d'estomac. Et l'eau de rose s'utilisait en onguent et en collyre[12]. Jusqu'au XVIIIe siècle on a beaucoup utilisé les collyres à l'eau de rose. Et aussi le sirop à la rose, les compresses de pétales de roses, les décoction de roses rouges, le vinaigre de roses en cas de migraines, le miel de rose pour les maux de gorge et les aphtes.[13].

La rose en parfumerie
Depuis l'Antiquité, la parfumerie a toujours fait un grand usage de la rose, soit en soliflore (la rose constitue l'essentiel du parfum), soit comme note de cœur associée à d'autres essences dans les parfums dits floraux, et plus généralement dans près de la moitié des parfums féminins.
L'eau de rose est connue pour son pouvoir adoucissant, en particulier pour les soins du visage et de nombreux produits de beauté utilisent de la rose, à la fois pour son parfum et son effet adoucissant : crèmes démaquillantes, masques, crèmes, lotions, huile essentielle dans les huiles de massage, eau de rose pour les bains, comme lotion ou pour parfumer l'eau des ablutions.
L'eau de rose est aussi utilisée pour purifier les mosquées en particulier si elles ont été souillées par les chrétiens.





La rose en cuisine
Les pétales de roses peuvent parfumer du sucre, un thé, être la base de liqueurs, de confitures, l'eau de rose peut servir à parfumer des gateaux, des bonbons. Les cuisines du pourtour de la Méditerranée et de l'Orient, arabe, perse, turque mais aussi indienne, utilisent beaucoup la rose.[14].

L'eau de rose parfume gâteaux et friandises, des spécialités comme les loukoums à la rose sont très renommées.
Les pétales servent de base à de nombreuses préparations :

bonbons à la rose,
confiture de rose,
eau de rose,
gelée de rose,
miel à la rose,
pétales de rose cristallisés.
En France, la capitale de la confiserie à la rose est Provins, dont les principales spécialités sont la confiture de pétales de rose, le miel à la rose de Provins, les bonbons à la rose.